เล็บครุฑกระจก
ชื่ออื่นๆ : เล็บครุฑ ครุฑตีนกบ
ต้นกำเนิด : แถบคาลิโดเนีย
ชื่อสามัญ : Ariegated Balfour aralia
ชื่อวิทยาศาสตร์ : : Polyscias scutellaria (Burm.f.) Fosberg
ชื่อวงศ์ : ARAKIACEAE
ลักษณะของเล็บครุฑกระจก
เป็นไม้พุ่มขนาดเล็ก ลำต้นส่วนแก่สีน้ำตาลอ่อน ลำต้นส่วนยอดมีสีเขียว ลายน้ำตาล กระสีน้ำตาลอ่อน ลำต้นเป็นข้อ ก้านใบสี้เขียวอ่อน มีลายสีน้ำตาลไหม้ ใบเป็นใบรวม มี 3 ใบย่อยใบลักษณะกลมคล้ายใบบัวบก สีเขียว ด่างขาวที่ขอบใบ ขอบใบหยักละเอียด
การขยายพันธุ์ของเล็บครุฑกระจกไม้ประดับภายในและภายนอกอาคาร
ใช้กิ่ง/ลำต้น/ปักชำ
ธาตุอาหารหลักที่เล็บครุฑกระจกต้องการ
ประโยชน์ของเล็บครุฑกระจก
เหตุที่ได้ชื่อว่า “เล็บครุฑ” เป็นเพราะปลายใบมีลักษณะหงิกงอคล้ายเล็บของครุฑ มีคติเชื่อว่า ปลูกไว้แล้วจะช่วยให้รอดพ้นจากภยันตราย
ชนิดเล็บครุฑที่นิยมปลูกเป็นไม้มงคล
1. เล็บครุฝอย Ming Aralia
2. เล็บครุฑทอง เล็บครุฑใบเฟิร์น Fern Leaf Aralia
3. เล็บครุฑบริพัตร White Aralia
4. เล็บครุฑใบกุหลาบ Variegated Rose Leaf Panax
สรรพคุณทางยาของเล็บครุฑกระจก
–
คุณค่าทางโภชนาการของเล็บครุฑกระจก
การแปรรูปของเล็บครุฑกระจก
เป็นได้ทั้งไม้ประดับภายในและภายนอกอาคาร แต่งให้เป็นไม้พุ่มได้แต่ต้องไม่ให้ถูกแสงแดดจัด และใช้ใบปรุงอาหาร แต่ยังไม่ค่อยแพร่หลายนัก รสชาติของเล็บครุฑ: ใบของเล็บครุฑมีรสขม กลิ่นหอมเฉพาะ ยอดอ่อนกินเป็นผักสด แกล้มกับลาบ น้ำพริก ขนมจีนน้ำยา นำไปชุบแป้งทอด ใส่ในทอดมัน หรือทำแกงคั่ว
แหล่งข้อมูลที่น่าเชื่อถือ : http://www.bedo.or.th/lcdb/biodiversity/view.aspx?id=9759&SystemType=BEDO
http://lebkrudkrajok3302.blogspot.com/
http://www.rspg.or.th/botanical_school/sb_pdata/narathiwat/pimanwitnarathiwat/pimanwitnarathiwat_pdata.htm