เล็บฮุ้ง
ชื่ออื่นๆ : โต่สง, ตีนฮุ้งดอย, เล็บฮุ้ง (ภาคกลาง) สัตฤาษี (ภาคอีสาน)
ต้นกำเนิด : ประเทศจีน
ชื่อสามัญ : Paris rhizome
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Paris polyphylla Sm.
ชื่อวงศ์ : TRILLIACEAE
ลักษณะของเล็บฮุ้ง
ต้น ไม้ล้มลุก มีหัวใต้ดิน สูงได้ถึง 1 ม.
ใบ เป็นใบเดี่ยว ออกเรียงเวียนรอบข้อ 4-9 ใบ รูปรีแกมขอบขนาน กว้าง 3-5 ซม. ยาว 8-15 ซม. โคนใบสอบ ปลายใบแหลม
ดอก ดอกออกเป็นดอกเดี่ยว สีเหลืองแกมส้ม ลักษณะเป็นกระจุกที่ปลายยอด มีก้านดอกยืดยาว 5-30 ซม. มีใบประดับ 4-6 ใบ ยาว 5-10 ซม. กลีบดอกเป็นเส้นเล็กสีเขียว ยาว 6-12 ซม. เกสรผู้ 10-22 อัน แตกตามยาว
ผล ผลลักษณะเป็นก้อนกลม ผิวเรียบ ขนาด 4-5 ซม. เมล็ดสีแสดแดง
การขยายพันธุ์ของเล็บฮุ้ง
เพาะเมล็ดและแยกหัว
ธาตุอาหารหลักที่เล็บฮุ้งต้องการ
ประโยชน์ของเล็บฮุ้ง
สรรพคุณทางยาของเล็บฮุ้ง
- ทั้งต้นมีสรรพคุณลดไข้
- หัวมีสรรพคุณแก้ปวด แก้อักเสบ และคลายกล้ามเนื้อ นำไปต้มแก้พิษงู, แผลน้ำร้อนลวก รักษาโรคคอตีบและสมองอักเสบ
คุณค่าทางโภชนาการของเล็บฮุ้ง
การแปรรูปของเล็บฮุ้ง
แหล่งข้อมูลที่น่าเชื่อถือ : http://www.bedo.or.th/lcdb/biodiversity/view.aspx?id=10284&SystemType=BEDO
https://www.flickr.com