เอื้องเขากวางอ่อน
ชื่ออื่นๆ : เขากวางอ่อน เอื้องจะเข็บ เอื้องม้าลายเสือ
ต้นกำเนิด : พบตามป่าเบญจพรรณ และป่าดิบชื้น ทุกภาคของประเทศ
ชื่อสามัญ : เอื้องเขากวางอ่อน
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Phalaenopsis cornu-cervi (Breda) Blume & Rchb. f.
ชื่อวงศ์ : Vandoideae
ลักษณะของเอื้องเขากวางอ่อน
ลักษณะทั่วไป : ลักษณะช่อของดอกคล้ายเขากวาง ดอกสีเหลือง มีแถบสีเข้ม ฤดุกาลออกดอกทั้งปี ลำต้นเจริญตามแนวยอด
ต้น ลำต้นสั้น มีกาบหุ้มลำต้น เจริญตาม แนวยอด
ใบ รูปรีแกมขอบขนาน กว้าง 4 ซม. ยาว 8-10 ซม.
ดอก เป็นช่อ 2-3 ดอก แตกแขนง ช่อของดอกคล้ายเขากวาง แกนช่อแบน ผิวมัน กลีบเลี้ยง และกลีบดอกสีเหลืองแกมเขียว หรือมีขีดตามขวางสีม่วงแดง กลีบปากสีเหลืองอ่อน หรือสีขาว
ราก เป็นแบบรากอากาศ(epiphytic)
การขยายพันธุ์ของเอื้องเขากวางอ่อน
ใช้หัว/เหง้า/หน่อ
ธาตุอาหารหลักที่เอื้องเขากวางอ่อนต้องการ
ประโยชน์ของเอื้องเขากวางอ่อน
นิยมปลูกประดับสถานที่เพื่อความสวยงาม
สรรพคุณทางยาของเอื้องเขากวางอ่อน
–
คุณค่าทางโภชนาการของเอื้องเขากวางอ่อน
การแปรรูปของเอื้องเขากวางอ่อน
แหล่งข้อมูลที่น่าเชื่อถือ : http://www.bedo.or.th/lcdb/biodiversity/view.aspx?id=11302&SystemType=BEDO
https://www.flickr.com/