ไผ่ลาย
ชื่ออื่นๆ : ไผ่ลาย
ต้นกำเนิด : ประเทศจีนและญี่ปุ่น
ชื่อสามัญ : –
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Phyllostachys sp.
ชื่อวงศ์ : Phyllostachys
ลักษณะของไผ่ลาย
เป็นไผ่เหง้าลำเดี่ยวขนาดเล็ก สูง 3-7 เมตร ลำตรงขี้นรวมหลวมๆ หรือห่างกัน เส้นผ่าศูนย์กลางลำ 1-3.5 เซนติเมตร ปล้องยาว 15-35 เซนติเมตร เนื้อลำบาง บางๆ ลำอ่อนมีไขหรือนวลสีขาวปกคลุมบางๆ เห็นได้ชัดบริเวณใต้ข้อ ลำแก่สีเขียวเข้ม บริเวณเหนือข้อบวมป่อง แตกกิ่งค่อนข้างต่ำหรือเกือบตลอดลำ กิ่งมีลักษณะค่อนข้างแบนจำนวน 4 กิ่ง ใบสีเขียวสลับสีขาวตามความยาว ใบรูปขนาน กว้างประมาณ 1-3.5 เซนติเมตร ยาว 7-20 เซนติเมตร กาบหุ้มลำสีเขียวอมเหลืองและมีริ้วสีขาวสลับตามความยาวกาบ ปกคลุมด้วยขนสีน้ำตาลถึงน้ำตาลอมม่วง ใบยอดกาบรูปใบหอกคล้ายริบบิ้นสีเขียวสลับแถบขาวตามความยาวใบ กางออกถึงพับลง
การขยายพันธุ์ของไผ่ลาย
การแยกเหง้า
ธาตุอาหารหลักที่ไผ่ลายต้องการ
ประโยชน์ของไผ่ลาย
ปลูกเป็นไม้ประดับ หรือแนวกันรั้ว
คนไทยเราเชื่อมาแต่โบราณว่า ไผ่เป็นไม้มงคลเพราะเป็นไม้ที่แสดงถึงความมั่นคง ซื่อตรง ดังต้นไผ่ ทุกคนให้ความรักเยินยอ ในคุณงามความดี ปลูกแล้วจะอยู่ดีมีสุข อันตรายจากคนปองร้าย หรือโรคภัยมิอาจเบียดเบียนได้
สรรพคุณทางยาของไผ่ลาย
คุณค่าทางโภชนาการของไผ่ลาย
การแปรรูปของไผ่ลาย
แหล่งข้อมูลที่น่าเชื่อถือ : http://www.bedo.or.th/lcdb/biodiversity/view.aspx?id=11021&SystemType=BEDO
https://forprod.forest.go.th
https://www.flickr.com