กล้วยทองแขก
ชื่ออื่นๆ : กล้วยทองร่วง, กล้วยหวีเวียน, หอมทองแขก
ต้นกำเนิด : ประเทศไทย
ชื่อสามัญ : Kluai Thong Khak
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Musa (AAB) ‘Thong Khak’
ชื่อวงศ์ : MUSACEAE
ลักษณะของกล้วยทองแขก
ต้น ลำต้นสั้น มีเหง้าอยู่ใต้ดิน มีลำต้นเทียมสูง 2.5 – 4.0 ม. เส้นผ่านศูนย์กลาง 16-20 ซม. ทางยาวประมาณ 1-15 ม.
ใบ ใบเดี่ยวขนาดใหญ่ ออกเรียงสลับ รูปขอบขนาน ปลายใบมน ขอบใบเรียบ ก้านใบยาว
ดอก หรือปลี ช่อดอกตั้งห้อยลง มีใบประดับขนาดใหญ่หุ้ม
ผล ผลใหญ่ยาว เครือหนึ่งมี 9-15 หวี หวีชิดกันหนาแน่นตลอดทั้งเครือ ผลสุกร่วงหล่นก่อนงอมเสมอ รสหวานอมเปรี้ยว เนื้อเละ

การขยายพันธุ์ของกล้วยทองแขก
การแยกหน่อ
ธาตุอาหารหลักที่กล้วยทองแขกต้องการ
ประโยชน์ของกล้วยทองแขก
- ไม่ค่อยนิยมรับประทาน มักจะนำไปแปรรูปเป็นอาหารอย่างอื่นแทน
สรรพคุณทางยาของกล้วยทองแขก
สามารถอ่านเพิ่มเติมได้ที่ *สรรพคุณของกล้วย*
คุณค่าทางโภชนาการของกล้วยทองแขก
การแปรรูปของกล้วยทองแขก
สามารถติดตามความรู้เเกี่ยวกับเรื่องกล้วย การปลูกกล้วย พันธุ์กล้วย เพิ่มเติมได้ที่ เกษตรตำบล.คอม
แหล่งข้อมูลที่น่าเชื่อถือ : www.rpplant.royalparkrajapruek.org , www.m-culture.go.th
ภาพประกอบ : นานาการ์เด้นท์
กล้วยทองแขก ชื่อวิทยาศาสตร์ Musa (AAB) ‘Thong Khak’