กล้วยไข่ทองร่วง
ชื่ออื่นๆ : กล้วยไข่ทองร่วง, กล้วยค่อมเบา
ต้นกำเนิด : พบมากทางภาคใต้
ชื่อสามัญ : Banana
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Musa spp. “Kluai Thong Ruang”
ชื่อวงศ์ : MUSACEAE
ลักษณะของกล้วยไข่ทองร่วง
ต้น ลำต้นสูงประมาณ 2.5 เมตร เส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 12 เซนติเมตร กาบลำต้นด้านนอกมีสีเขียว มีปื้นดำมาก ด้านในมีสีเขียวอมเหลือง
ใบ ก้านใบสีเขียวอมเหลือง ร่องใบเปิด
ดอก ปลีรูปไข่ค่อนข้างแหลม สีแดงอมม่วง ปลายกาบสีแดง
ผล เครือหนึ่งมี 6-7 หวี หวีหนึ่งมี 14-16 ผล เปลือกบาง ผลไม่มีเหลี่ยม ปลายผลมน ลักษณะคล้ายกล้วยไข่ แต่ผลใหญ่กว่า เปลือกสีเขียวอมเหลือง เมื่อสุกมีสีเหลืองสดใส เนื้อมีสีเหลืองเข้ม รสหวานอมเปรี้ยวเล็กน้อย ไม่มีเมล็ด

การขยายพันธุ์ของกล้วยไข่ทองร่วง
การแยกหน่อ, การแยกเหง้า
การปลูก ขุดหลุมขนาด 30x30x30 เซนติเมตร วางหน่อลงปลูกกลางหลุม กลบดินโดยรอบให้แน่น หลังปลูก 1 เดือนให้ใส่ปุ๋ยสูตร 46-0-0 จากนั้นให้ปุ๋ยสูตร 15-15-15 สลับกับปุ๋ยอินทรีย์ทุก 3 เดือน
ธาตุอาหารหลักที่กล้วยไข่ทองร่วงต้องการ
ประโยชน์ของกล้วยไข่ทองร่วง
- ผลใช้รับประทานสด

สรรพคุณทางยาของกล้วยไข่ทองร่วง
–
คุณค่าทางโภชนาการของกล้วยไข่ทองร่วง
การแปรรูปของกล้วยไข่ทองร่วง
แหล่งข้อมูลที่น่าเชื่อถือ : www.kb.psu.ac.th
ภาพประกอบ : สารพันกล้วยยอดนิยม, www.pantip.com
One Comment