บังบาย
ชื่ออื่นๆ : บังกาย, ฝีเสื้อ, กะตังบาย(ภาคใต้) กะตังแดง (กรุงเทพ) เขือง, บังใบ, กะตังใบ, กะตังบาย (ภาคกลาง) กะลังใบ, เขืองแขงม้า (ภาคเหนือ)
ต้นกำเนิด : เกิดตามป่าดงดิบ และป่าโปร่งทั่วไป
ชื่อสามัญ : Leea
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Leea indica (Burm.f.) Merr.
ชื่อวงศ์ : LEEACEAE
ลักษณะของบังบาย
ต้น เป็นพุ่มโปร่งขนาดย่อม สูงประมาณ 5 ฟุต ต้นที่มีอายุมากๆ สูงถึง 2-3 เมตร
ใบ ใบประกอบ ใบย่อย รูปไข่ปลายแหลม 3-5 ใบ คล้ายใบกระท่อม ขอบใบจักร มีสีเขียว จัดเหลือบขาวมัน ตามต้นและกิ่ง มี ครีบ โดยรอบคล้ายฟันเฟือง
ดอก เป็นช่อแบน คล้ายดอกเถาคัน แต่โตกว่า ดอกตูมมีสีเขียว ออกดอกบริเวณยอด เมื่อบานสีขาว

การขยายพันธุ์ของบังบาย
การแยกหน่อ, การใช้เมล็ด
ธาตุอาหารหลักที่บังบาต้องการ
ประโยชน์ของบังบาย กะตังใบ
ยอดอ่อน รสฝาดมัน รับประทานเป็นผักสด เป็นผักจิ้ม
สรรพคุณทางยาของบังบาย
ราก รสเย็นเมาเบื่อ แก้ไข้ ขับเหงื่อ แก้ปวดเมื่อยตามร่างกาย แก้ครั่นเนื้อครั่นตัว ดับร้อน
คุณค่าทางโภชนาการของบังบาย
การแปรรูปของบังบาย
แหล่งข้อมูลที่น่าเชื่อถือ : http://www.bedo.or.th/lcdb/biodiversity/view.aspx?id=9859&SystemType=BEDO
www.flickr.com