ปอแก่นเทา
ชื่ออื่นๆ : ขี้เถ้า(นครราชสีมา) คันเทา(ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ) ปอแก่นเทา(เชียงราย,นครพนม) ปอลาย(พิษณุโลก) ปอหมื่น, ยาบข้าวจี่(ภาคเหนือ) ยาบน้อย,ยาบมื่น(เชียงใหม่) ลาย(ราชบุรี)
ต้นกำเนิด :
ชื่อสามัญ : ปอแก่นเทา
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Grewia eriocarpa juss
ชื่อวงศ์ : TLILACEAE
ลักษณะของปอแก่นเทา
ต้น เป็นไม้พุ่มหรือไม้ต้นสูง 7-12 เมตร เปลือกต้นสีเทาบางเรียบ ต้นโตมีรอยแตกเล็กนอย กิ่งก้านเรียวเล็กลู่ลง
ใบ ใบเดี่ยวเรียงสลับ รูปไข่ ขอบใบหยักจักฟันเลี่อยซี่เล็กๆ ใบแก่ด้านหลังสีเขียว
ดอก ดอกสีเหลืองออกเขียว ออกเป็นช่อตั้งตรงตามช่อใบ ออกดอกเดือนมีนาคมถึงเมษายน
ผล ผลกลมหรือรูปไข่ มีติ่งเล็กที่ปลายผล ผลอ่อนสีเขียว เมื่อสุกสีดำ ออกผลเดือนพฤษภาคมถึงมิถุนายน


การขยายพันธุ์ของปอแก่นเทา
ใช้เมล็ด
ธาตุอาหารหลักที่ปอแก่นเทาต้องการ
ประโยชน์ของปอแก่นเทา
- ผลรับประทานได้
- เนื้อไม้ทำฟืน
สรรพคุณทางยาของปอแก่นเทา
–
คุณค่าทางโภชนาการของปอแก่นเทา
การแปรรูปของปอแก่นเทา
แหล่งข้อมูลที่น่าเชื่อถือ : http://www.bedo.or.th/lcdb/biodiversity/view.aspx?id=10889&SystemType=BEDO
https://www.flickr.com