เพี้ยกระทิง
ชื่ออื่นๆ : แสงกลางวัน,ขมสามดอย(ไทใหญ่), เพี้ยกระทิง,สะเลียมดง(กะเหรี่ยงแม่ฮ่องสอน), มะโหกโตน(คนเมือง), ตะคะโดะ(กะเหรี่ยงเชียงใหม่) – ผักส้มเสี้ยนผี (ภาคเหนือ)
ต้นกำเนิด :
ชื่อสามัญ : เพี้ยกระทิง, สะเลียมดง
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Melicope pteleifolia (Champ. ex Benth.) Hartley
ชื่อวงศ์ : Rutaceae
ลักษณะของเพี้ยกระทิง
ไม้พุ่ม เปลือกลำต้นสีเทา มีกลิ่นหอม กิ่งอ่อนมีขนสั้นสีขาวปกคลุม ใบประกอบ ไม่มีหูใบ ผิวใบด้านบนขียวเข้มเป็นมัน ด้านล่างมีขนสั้นสีขาวปกคลุม ดอกช่อ ออกตามซอกใบ ช่อดอกและดอกย่อยมีกาบหุ้มสีเขียวรองรับ ดอกย่อยเป็นดอกสมบูรณ์เพศ กลีบเลี้ยงสีเขียว กลีบดอกสีขาว อับละอองเรณูสีเหลือง ผลแก่แล้วแตกเป็น 2 แนว เมล็ดสีดำ ผิวเรียบ

การขยายพันธุ์ของเพี้ยกระทิง
การเพาะเมล็ด
ธาตุอาหารหลักที่เพี้ยกระทิงต้องการ
ประโยชน์ของเพี้ยกระทิง
- ยอดอ่อนรับประทานสดกับลาบ
- ใบนำมาย่างไฟอ่อนแล้วขยี้เป็นแผ่นเล็กๆหรือใส่ลงในแกงทั้งใบเพื่อเพิ่มรสขม

สรรพคุณทางยาของเพี้ยกระทิง
- ตำรับยาพื้นบ้านล้านนาจะใช้รากเพี้ยกระทิงผสมกับรากพลับพลา นำมาต้มกับน้ำให้ข้น ใช้ดื่มก่อนอาหารวันละ 3-4 ครั้ง เป็นยาแก้ไข้หนาว
- ใบนำมารับประทานสดเป็นยาแก้ตุ่มคัน
- รากใช้เป็นยารักษาโรคริดสีดวง
คุณค่าทางโภชนาการของเพี้ยกระทิง
การแปรรูปของเพี้ยกระทิง
แหล่งข้อมูลที่น่าเชื่อถือ : http://www.bedo.or.th/lcdb/biodiversity/view.aspx?id=11865&SystemType=BEDO
https://www.flickr.com