แดงคลอง
ชื่ออื่นๆ : แดงขึ้นก , แดงดง (ประจวบคีรีขันธ์ ) แดงคลอง (ชุมพร) หว้าส้ม (ชลบุรี) เหม็ดชุน(นครศรีธรรมราช )
ต้นกำเนิด : –
ชื่อสามัญ : Eugenia
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Eugenia cymosa Lamk.
ชื่อวงศ์ : MYRTACEAE
ลักษณะของแดงคลอง
ต้น ไม้ยืนต้น สูงประมาณ 10-20 เมตร
ใบ ใบออกตรงกันข้าม ใบมนหรือใบรูปขอบขนาน-รูปหอก ปลายใบแหลมสีเข้มและเป็นเงาบนผิวใบด้านบน ยาว 5-10 ซม. ก้านใบยาว 5-6 มม.
ดอก สีขาวออกเป็นช่อแบบเป็นกลุ่มย่อย ตามง่ามใบหรือปลายกิ่ง ยาว 3-5 ซม. มีก้านดอกสั้นๆ หรือไม่มี แต่ละช่อมีดอกอยู่ร่วมกัน 3 ดอก โดยมีก้านดอกยาว 2-3 ซม.
ผล ขนาดเล็กๆ รูปกลมหรือรูปไข่ ด้านข้างแบน ยาว 5-6 มม. กว้าง 7-8 มม. มีเมล็ด 1 เมล็ด

การขยายพันธุ์ของแดงคลอง
ใช้เมล็ด
ธาตุอาหารหลักที่แดงคลองต้องการ
ประโยชน์ของแดงคลอง
ใบอ่อน นำมารับประทานเป็นผักสด หรือนำไปแกง
สรรพคุณทางยาของแดงคลอง
คุณค่าทางโภชนาการของแดงคลอง
การแปรรูปของแดงคลอง
แหล่งข้อมูลที่น่าเชื่อถือ : http://www.bedo.or.th/lcdb/biodiversity/view.aspx?id=10174&SystemType=BEDO
http:// area-based.lpru.ac.th
https://www.flickr.com