กล้วยด่าง ใบมีด่างสีขาวหรือสีเหลืองตามแนวเส้นใบหรือด่างเป็นปื้น นิยมปลูกประดับ

กล้วยด่าง

ชื่ออื่นๆ  :

ต้นกำเนิด  : หมู่เกาะแถบแปซิฟิกตอนใต้

ชื่อสามัญ  :  Aureo-striata, Yellow-striped Heliconia

ชื่อวิทยาศาสตร์  : Heliconia indica Lam. ‘Striata’

ชื่อวงศ์  :  HELICONIACEAE

ลักษณะของกล้วยด่าง

ต้น ไม้ล้มลุก อายุหลายปี สูง 5-6 เมตร ไม่มีเนื้อไม้ ลำต้นเหนือดินเป็นลำต้นเทียมที่เกิดจากกาบใบซ้อนเกยกันแน่น

ใบ ใบเดี่ยว รูปขอบขนานหรือรูปช้อน ปลายติ่งแหลมยาว โคนมน ขอบเรียบ แผ่นใบด้านบนและใต้ใบสีเขียว มีด่างสีขาวหรือสีเหลืองตามแนวเส้นใบหรือด่างเป็นปื้น เส้นกลางใบและก้านใบสีขาวหรือสีเหลือง หรือเป็นสีเขียวมีเส้นสีขาวหรือสีเหลืองตลอดความยาว

ผล  ผลรูปผลโค้งงอปลายสอบเรียว ผิวสีด่างขาวเขียวหรืออมชมพู รสชาติคล้ายกล้วยไข่ แต่มีรสอมเปรี้ยวไม่มีเมล็ด เครือหนึ่งมี 4-5 หวีๆ หนึ่งมี 10-16 ผล

กล้วยด่าง
กล้วยด่าง แผ่นใบด้านบนและใต้ใบสีเขียว มีด่างสีขาวหรือสีเหลืองตามแนวเส้นใบ

การขยายพันธุ์ของกล้วยด่าง

เพาะเมล็ด, แยกกอ, เพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ หากต้องการขยายพันธุ์กล้วยด่าง ต้องนำหน่อไปเพาะขยายพันธุ์ต่อ หากผสมหน่อให้เกิดผล มักไม่มีเมล็ดกล้วย วิธีการเพาะเมล็ดจึงยากที่จะให้ผลลูกที่หน้าตาสวยเหมือนต้นแม่

ชนิดของกล้วยที่มีลักษณะด่าง ได้แก่

การเกิดสีด่างนั้นมาจากกลไกยีนด้อยที่แฝงอยู่ในพันธุกรรม สีด่างเหลือง และสีด่างขาวจากลักษณะเผือก ทำให้เกิดริ้วลายบนใบที่ต่างกัน

ผลกล้วยด่าง
ผลกล้วยด่าง ผิวสีด่างขาวเขียว

ธาตุอาหารหลักที่กล้วยด่างต้องการ

ดินทุกชนิด ระบายน้ำได้ดี ต้องการน้ำปริมาณมาก แสงแดดรำไร

ประโยชน์ของกล้วยด่าง

  • นิยมปลูกเป็นไม้ประดับ
  • ผลรับประทานได้

สรรพคุณทางยาของกล้วยด่าง

คุณค่าทางโภชนาการของกล้วยด่าง

การแปรรูปของกล้วยด่าง

แหล่งข้อมูลที่น่าเชื่อถือ : https://data.addrun.org
https://www.flickr.com
http://www.qsbg.org

Add a Comment