กล้วยน้ำนมแขก
ชื่ออื่นๆ : กล้วยน้ำนมแขก
ต้นกำเนิด :
ชื่อสามัญ : Kluai Nam Nom Khak
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Musa (AAB) ‘Nam Nom Khak’
ชื่อวงศ์ : MUSACEAE
ลักษณะของกล้วยน้ำนมแขก
ต้น ลำต้นสั้น มีเหง้าอยู่ใต้ดิน ลำต้นเทียมประกอบด้วยกาบใบที่ห่อหุ้มไว้อย่างแน่นหนา
ใบ ใบเดี่ยวขนาดใหญ่ ออกเรียงสลับ รูปขอบขนาน ปลายใบมน ขอบใบเรียบ ใบสีเขียวอ่อน ก้านใบยาว
ดอก หรือปลีช่อดอกตั้งห้อยลง มีใบประดับขนาดใหญ่หุ้ม
ผล ผลแบบ (berry) ผลมีเนื้อหลายเมล็ด ผลมีขนาดกลม โค้ง มีจุก เปลือกหนา รสชาติหวานหอม
การขยายพันธุ์ของกล้วยน้ำนมแขก
การแยกหน่อ
ธาตุอาหารหลักที่กล้วยน้ำนมแขกต้องการ
ประโยชน์ของกล้วยน้ำนมแขก
กลุ่ม AAB กล้วยชนิดนี้มีรสหวาน มีแป้งผสมอยู่บ้างในเนื้อ ทำให้มีความเหนียว บางชนิดรับประทานสดได้ บางชนิดต้องทำให้สุก ซึ่งเราเรียกกล้วยชนิดที่ต้องทำให้สุกนี้ว่า กล้าย (plantain)
สรรพคุณทางยาของกล้วยน้ำนมแขก
สามารถอ่านเพิ่มเติมได้ที่ *สรรพคุณของกล้วย*
คุณค่าทางโภชนาการของกล้วยน้ำนมแขก
การแปรรูปของกล้วยน้ำนมแขก
สามารถติดตามความรู้เเกี่ยวกับเรื่องกล้วย การปลูกกล้วย พันธุ์กล้วย เพิ่มเติมได้ที่ เกษตรตำบล.คอม
แหล่งข้อมูลที่น่าเชื่อถือ : www.rpplant.royalparkrajapruek.org
ภาพประกอบ : www.feunfoo.org, สวนลุงทด