กะทกรก
ชื่ออื่นๆ : รก กระโปรงทอง ละพุบาบี หญ้ารกช้าง (ใต้) ตำลึงฝรั่ง
ต้นกำเนิด :
ชื่อสามัญ : เสาวรส
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Passiflora foetida L.
ชื่อวงศ์ : PASSIFLORACEAE
ลักษณะของกะทกรก
ต้น เป็นไม้เถาเลื้อยมีมือเกาะเกี่ยวต้นไม้อื่น ลำต้นกลมสีเขียวมีขนสีทองอ่อนนุ่มปกคลุมทั่วไป
ใบ ใบเดี่ยวเรียงสลับกัน ขอบใบเว้าเป็น 3 แฉก และเป็นจักปลายแหลม ผิวใบมีขนอ่อน กว้าง ประมาณ 4 ซม. ยาว 5 ซม.
ดอก ดอกเดี่ยวสีขาว วงในลักษณะเป็นเส้นลมสีม่วง ที่โคนปลายสีเทา
ผล ผลกลม เมื่อสุกสีเหลือง เส้นผ่าศูนย์กลาง 2 ซม. มีรกหุ้มสีเขียวอ่อน

การขยายพันธุ์ของกะทกรก
ใช้เมล็ด/เมล็ด
ธาตุอาหารหลักที่กะทกรกต้องการ
ประโยชน์ของกะทกรก
ยอดอ่อน ผลอ่อน ผลแก่ ผลสุก รกที่หุ้มยอดอ่อน ผลอ่อน ผลแก่ ผลสุก รกที่หุ้มกินเป็นผักสด หรือลวกเป็นผักจิ้มน้ำพริก แกงเลียง
สรรพคุณทางยาของกะทกรก
สรรพคุณทางยา ยาบำรุงหัวใจ (ทั้งต้น) แก้โรคเหน็บชา โดยสับตากแดดแล้วต้มกิน ใช้หนึ่งกำมือ/น้ำ 3 แก้ว ต้มในเหลือ 2 แก้ว ยาถ่ายพยาธิใช้ตำบีบเอาน้ำคั้นมาดื่ม
คุณค่าทางโภชนาการของกะทกรก
การแปรรูปของกะทกรก
แหล่งข้อมูลที่น่าเชื่อถือ : http://www.bedo.or.th/lcdb/biodiversity/view.aspx?id=11768&SystemType=BEDO
https://www.flickr.com