ขี้ไก่ย่าน เป็นวัชพืชตามชายป่า-ใบตำพอกบาดแผล

ขี้ไก่ย่าน

ชื่ออื่นๆ : ขี้ไก่ย่าน (สงขลา) ขี้เหล็กย่าน (นราธิวาส) สาลาปุ๊ตูโงะ (มลายู-นราธิวาส)

ต้นกำเนิด : อเมริกาใต้

ชื่อสามัญ :

ชื่อวิทยาศาสตร์ : Mikania cordata (Burm.f.) B.L. Robinson

ชื่อวงศ์ : Asteraceae

ลักษณะของขี้ไก่ย่าน

ต้น ไม้ล้มลุกเลื้อย ลำต้นสูง 7 ม. มีขน เกลี้ยง หรือมีขนนุ่มเล็กน้อย

ใบ จะออกตรงข้ามกัน รูปไข่แกมสามเหลี่ยม กว้าง 1.5-6 ซ.ม. ยาว 3-10 ซ.ม. ตรงปลาย ใบจะแหลมเรียว โคนใบรูปหัวใจ ขอบใบจัก เป็นซี่ฟันหยาบๆ ผิวเกลี้ยง

ดอก ออกตามง่ามใบ เป็นกระจุก ริ้วประดับ บาง ค่อนข้างจะโปร่งใส กลีบดอกสีขาว แกมเขียว ยาว 4-5 มม. โคนเชื่อมติดกัน ตรงปลายแยกออกเป็น 5 แฉก อับเรณูสี เทาอมน้ำเงินอ่อน หรือสีดำอมเทา ท่อเกสร ตัวเมียสีขาว

ผล ถ้าแห้ง จะมีสีน้ำตาลเข้ม มีต่อมระยางค์แข็งจำนวนมากยาว 3-4 มม. ผลอ่อนสีขาว ถ้าแห้งเป็นสีแดง

ขี้ไก่ย่าน
ขี้ไก่ย่าน โคนใบรูปหัวใจ ขอบใบจักเป็นซี่ฟันหยาบ ผิวเกลี้ยง

การขยายพันธุ์ของขี้ไก่ย่าน

ธาตุอาหารหลักที่ขี้ไก่ย่านต้องการ

ประโยชน์ของขี้ไก่ย่าน

เป็นวัชพืชตามชายป่า สองข้างทาง และตามป่ารุ่น มักขึ้นเป็นพุ่มพันกันยุ่ง

สรรพคุณทางยาของขี้ไก่ย่าน

ใบ ตำพอกบาดแผล แผลบวม และโรคหิด

วิธีใช้ : นำใบมาบดและพอกที่แผล

ดอกขี้ไก่ย่าน
ดอกขี้ไก่ย่าน ดอกสีขาว แกมเขียว

คุณค่าทางโภชนาการของขี้ไก่ย่าน

การแปรรูปของขี้ไก่ย่าน

แหล่งข้อมูลที่น่าเชื่อถือ : http://www.bedo.or.th/lcdb/biodiversity/view.aspx?id=11173&SystemType=BEDO
https://www.flickr.com

Add a Comment