คีเปล
ชื่ออื่นๆ : คีเปล
ต้นกำเนิด : ประเทศอินโดนีเซีย
ชื่อสามัญ : kepel
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Stelechocarpus Burahol (Blume) Hook
ชื่อวงศ์ : ANNONACEAE
ลักษณะของคีเปล
ต้น เป็นไม้ยืนต้นขนาดกลาง สูงเต็มที่อาจถึง 15 เมตร ลำต้นตรง แตกกิ่งก้านมาก เปลือกต้นเรียบสีน้ำตาล ทรงต้นเป็นพุ่ม
ใบ เป็นไปเดี่ยว ออกเวียนสลับตามกิ่ง ทรงรี โคนใบสอบ ปลายใบแหลม ขอบใบเรียบ
ดอก ออกเป็นช่อตามต้นและกิ่ง สีเหลือง ส่งกลิ่นหอมทั้งวัน ออกดอกปีละ 2 ครั้ง
ผล ผลทรงกลมเท่ากำปั้น ออกตามลำต้นห้อยระย้าคล้ายสาละ เป็นจำนวนมาก เปลือกผลสีขาวอมเหลือง และจะเปลี่ยนเป็นสีน้ำตาลเมื่อแก่จัด ผลฉ่ำน้ำ หอม หวาน
การขยายพันธุ์ของคีเปล
การเพาะเมล็ด, ตอนกิ่ง, ปักชำกิ่ง
ธาตุอาหารหลักที่คีเปลต้องการ
ชอบความชุ่มชื้น และแสงแดดเต็มวัน
ประโยชน์ของคีเล
- ผลสุกใช้รับประทาน เนื้อสีเหลืองฉ่ำน้ำ หอม หวาน
- ปลูกเป็นไม้ประดับเพราะมีใบอ่อนสีแดงอมชมพู ดอกสีเหลืองส่งกลิ่นหอมแรง
- ”คีเปล” ในอดีตนิยมที่อินโดฯ เป็นไม้ต้องห้าม ปลูกได้เฉพาะในพระราชวังเท่านั้น เพราะมีสรรพคุณแปลก มหัศจรรย์ที่สุดในโลก คือ รับประทานไปแล้วจะทำให้มีกลิ่นตัวหอมสดชื่น แถมยังมีสรรพคุณทางสมุนไพรด้วยให้ถ่ายปัสาวะได้คล่อง เวลาเหงื่อออกจะมีกลิ่นหอม แม้กระทั่งปัสสาวะยังมีกลิ่นหอมด้วย
สรรพคุณทางยาของคีเปล
- ผล ช่วยถ่ายปัสสาวะได้คล่องไม่ติดขัด
- ใบ ต้มกินแก้โรคเกาต์ได้
คุณค่าทางโภชนาการของคีเปล
การแปรรูปของคีเปล
แหล่งข้อมูลที่น่าเชื่อถือ : http://www.bedo.or.th
https://goodpriceth.org
https://www.youtube.com
https://www.flickr.com