จิงจ้อผี
ชื่ออื่นๆ : จิงจ้อน้อย (เหนือ) จิงจ้อ จิงจ้อเขา (ประจวบคีรีขันธ์) จิงจำ จิงจ้ำ (กรุงเทพฯ)
ต้นกำเนิด : ในไทยพบทุกภาค ขึ้นตามชายป่า และเขาหินปูน ความสูงถึงประมาณ 600 เมตร
ชื่อสามัญ :
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Jacquemontia paniculata (Burm.f.) Hall. f.
ชื่อวงศ์ : CONVOLVULACEAE
ลักษณะของจิงจ้อผี
ต้น ไม้เถา ลำต้นมีขนสั้นสีขาว
ใบ ใบเดี่ยว เรียงสลับ รูปไข่ หรือรูปขอบขนานแกมรูปไข่ ปลายแหลมและเป็นติ่งหนามสั้น โคนรูปหัวใจหรือกลม ขอบเรียบหรือเป็นคลื่น
ดอก ช่อดอกแบบช่อกระจุกคล้ายช่อซี่ร่ม มีขน ใบประดับรูปใบหอก กลีบเลี้ยง 5 กลีบ รูปไข่หรือรูปรี กลีบดอกสีขาวอมฟ้า ถึงเป็นสีฟ้าอมม่วง โคนเชื่อมกันเป็นรูปกรวย ปลายแยกเป็น 5 แฉกลึก มีแถบเส้นกลางกลีบ เกสรเพศผู้ 5 อัน เชื่อมติดกับหลอดกลีบดอก รังไข่อยู่เหนือวงกลีบ ออกดอกระว่างเดือนตุลาคมถึงมีนาคม
ผล ผลแบบผลแห้งแก่แล้วแตก รูปกลม เมล็ดสีน้ำตาลอ่อน
การขยายพันธุ์ของจิงจ้อผี
เพาะเมล็ด
ธาตุอาหารหลักที่จิงจ้อผีต้องการ
ประโยชน์ของจิงจ้อผี
- น้ำสกัดจากใบและรากช่วยให้นอนหลับ
- เป็นวัชพืช พบตามริมถนน ริมทุ่งนา
สรรพคุณทางยาของจิงจ้อผี
–
คุณค่าทางโภชนาการของจิงจ้อผี
การแปรรูปของจิงจ้อผี
แหล่งข้อมูลที่น่าเชื่อถือ : http://www.bedo.or.th/lcdb/biodiversity/view.aspx?id=9779&SystemType=BEDO
https://www.flickr.com/