บัวผัน
ชื่ออื่นๆ : บัวผัน, นิลุบล, นิลอุบล
ต้นกำเนิด :
ชื่อสามัญ : Day – Blooming Tropical Waterlily
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Nymphaea Cyanea Roxb.
ชื่อวงศ์ : NYMPHAEACEAE
ลักษณะของบัวผัน
ต้น เป็นไม้น้ำและไม้ล้มลุกหลายฤดู มีเหง้าและไหลอยู่ใต้ดิน
ใบ เป็นใบเดี่ยว เรียงเป็นวงสลับถี่ ใบรูปรีหรือค่อนข้างกลม เส้นผ่านศูนย์กลาง 20-30 ซม. โคนใบเว้าลึก ขอบใบเรียบ ผิวใบเป็นคลื่น ใบลอยปริ่มน้ำ ใต้ใบสีเขียวหรือมีจุดสีม่วงหรือน้ำตาลแดง
ดอก เป็นดอกเดี่ยวกลีบดอกซ้อนมีหลายสี เช่น สีคราม ฟ้าอ่อน ม่วง ดอกชูเหนือน้ำเล็กน้อย ก้านดอกมีสีม่วงแดง เมื่อดอกบานมีเส้นผ่านศูนย์กลาง 15-20 ซม. ดอกบานกลางวัน และมีกลิ่นหอมและขนาดใหญ่กว่าบัวเผื่อน เมื่อบานหลาย ๆ วันสีจะจางลง ปลายกลีบเรียวแหลมมีหลายสี เกสรสีเหลืองกลิ่นหอมหวาน
การขยายพันธุ์ของบัวผัน
ใช้หัว/เหง้า/หน่อ
การขยายพันธุ์: แยกหน่อหรือ แยกเหง้า
การปลูก: ปลูกเป็นไม้ดอกไม้ประดับในอ่างหรือสระน้ำ
การดูแลรักษา: เป็นบัวพื้นเมืองที่มีความทนทานปลูกเลี้ยงง่าย สามารถทนแดดทนฝนได้ดี
ธาตุอาหารหลักที่บัวผันต้องการ
ประโยชน์ของบัวผัน
- นำมาทำเครื่องประทินผิวและน้ำหอม
- ไม้ประดับ
- สมุนไพร
สรรพคุณทางยาของบัวผัน
หัว ใช้เป็นยาได้
คุณค่าทางโภชนาการของบัวผัน
การแปรรูปของบัวผัน
แหล่งข้อมูลที่น่าเชื่อถือ : http://www.bedo.or.th/lcdb/biodiversity/view.aspx?id=11157&SystemType=BEDO
https://www.flickr.com
ขอบคุณๆ