ดอกเข็ม
ชื่ออื่นๆ :
ต้นกำเนิด :
ชื่อสามัญ : West Indian Jasmine
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Ixora chinensis lamk.
ชื่อวงศ์ : RUBIACEAE
ลักษณะของดอกเข็ม
ต้น เป็นพรรณไม้พุ่มขนาดเล็กถึงขนาดย่อม ลำต้นสูงประมาณ 3–5 ฟุต จะแตกกิ่งก้านสาขาออกแผ่เป็นพุ่ม ลำต้นเป็นต้นเดี่ยวหรือแตกกอแผ่สาขาออกไปเป็นต้นต้นเล็กกลมขนาดเส้นรอบวงประมาณ 4-10 เซนติเมตรลำต้นเรียบสีน้ำตาลกิ่งยอดมีสีเขียวแตกกิ่งตรงขึ้นด้านบน
ใบ ใบของดอกเข็มแข็ง และเปราะง่าย มีสีเขียวสด ลักษณะใบมนรี ปลายใบแหลม โคนใบมน ใบจะออกเรียงสลับกันคนละทิศทาง ลักษณะใบมีขนาดและรูปร่างแตกต่างกันตามชนิดพันธุ์
ดอก ดอกออกเป็นช่อใหญ่ จะออกตรงส่วนยอดของต้น ในแต่ละช่อจะประกอบด้วยดอกขนาดเล็กเป็นหลอด ตรงปลายหลอดจะเป็นกลีบซึ่งมีอยู่ 4-5 กลีบ ปลายกลีบแหลม ลักษณะดอกและสีสรรแตกต่างกันไป
ฝัก/ผล เป็นผลกลม ผลอ่อนสีเขียว ผลแก่สีดำ

การขยายพันธุ์ของดอกเข็ม
-/- การปลูกในกระถางเพื่อประดับภายนอกอาคารบ้านเรือน
– การปลูกในแปลงปลูกเพื่อประดับบริเวณบ้านและสวนนิยมปลูกเป็นกลุ่มตกแต่งสวนบริเวณบ้านหรือปลูกเป็นแนวรั้วก็ได้ สามารถตัดแต่ง และบังคับรูปทรงได้ตามความเหมาะสม และความต้องการของผู้ปลูก
ที่จะปักชำกิ่ง เพาะเมล็ด หรือ กิ่งตอน

ธาตุอาหารหลักที่ดอกเข็มต้องการ
ประโยชน์ของดอกเข็ม
– ไม้ประดับ
– สมุนไพร
สรรพคุณทางยาของดอกเข็ม
คุณค่าทางโภชนาการของดอกเข็ม
การแปรรูปของดอกเข็ม
ดอกเข็มที่ยังตูมสามารถนำมาชุบแป้งหรือไข่ทอดทานเป็นอาหารได้
แหล่งข้อมูลที่น่าเชื่อถือ : http://www.bedo.or.th/lcdb/biodiversity/view.aspx?id=9632&SystemType=BEDO
https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%80%E0%B8%82%E0%B9%87%E0%B8%A1_(%E0%B8%9E%E0%B8%B7%E0%B8%8A)
https://www.flickr.com/