ต้นล่ำซำ
ชื่ออื่นๆ : ต้นสั่งทำ, ต้นหูหนู, ต้นล่ำซำ, รีบู รีเภา (ภาคใต้)
ต้นกำเนิด :
ชื่อสามัญ :
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Diospyros buxifolia
ชื่อวงศ์ : Ebenaceae
ลักษณะของต้นล่ำซำ
เป็นไม้ต้น ลำต้น สูง 10-20 เมตร เปลือกนอกสีเทาปนดำ แตกเป็นร่องเล็ก ตามยาว กิ่งอ่อนมีขนนุ่มปกคลุม ใบ ใบเดี่ยว เรียงสลับ แผ่นใบรูปรี รูปสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูน หรือรูปไข่ ขนาด 0.5-1.5 x 1-3 เซนติเมตร ปลายใบมน หรือเป็นติ่งแหลม โคนใบสอบหรือมน ผิวใบทั้งสองด้านเกลี้ยง มีขนตามแนวเส้นกลางใบ ขอบใบเรียบ ก้านใบสั้น ดอก ดอกแยกเพศอยู่ต่างต้นดอกเพศออกเป็นช่อ ช่อละ 2-3 ดอก เพศเมียมักออกเดี่ยวตามซอกใบ และมีขนาดใหญ่กว่าดอกเพศผู้เล็กน้อย ผล รูปกลมรี หรือรูปกระสวย ขนาด 0.5-1 x 1-1.5 เซนติเมตร แต่ละผลมีเมล็ด 1-4 เมล็ด ช่วงการออกดอกและติดผล ระหว่างเดือนพฤษภาคม ถึงเดือนสิงหาคม
การขยายพันธุ์ของต้นล่ำซำ
ใช้เมล็ด
ธาตุอาหารหลักที่ต้นล่ำซำต้องการ
ประโยชน์ของต้นล่ำซำ
เนื้อไม้ใช้ก่อสร้าง และทำด้ามเครื่องมือเครื่องใช้ได้ทนทาน
ต้นล่ำซำได้รับความนิยมมากในเมืองไทย โดยเฉพาะในสนามกอล์ฟ นอกจากนี้ตามบ้านเรือนก็นิยมนำมาปลูก เพราะนอกจากความสวยงามสง่าแล้ว ยังมีความเชื่อที่ว่าทำจะนำความรุ่งเรืองมาให้กับบุคคล
ใบเดี่ยว เรียงสลับ แผ่นใบรูปรี
สรรพคุณทางยาของต้นล่ำซำ
คุณค่าทางโภชนาการของต้นล่ำซำ
การแปรรูปของต้นล่ำซำ
แหล่งข้อมูลที่น่าเชื่อถือ : http://www.bedo.or.th/lcdb/biodiversity/view.aspx?id=11163&SystemType=BEDO
https://www.flickr.com