ต้นหอมญี่ปุ่น
ชื่ออื่นๆ :
ต้นกำเนิด : ประเทศญี่ปุ่น
ชื่อสามัญ : Japanese Bunching Onion
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Allium fistulosum L.
ชื่อวงศ์ : Alliaceae
ลักษณะของต้นหอมญี่ปุ่น
มีระบบรากแบบรากฝอยและมีขนราก ลำต้นจริงมีลักษณะเป็นแผ่นอยู่ระหว่างรากและใบ ใบเป็นหลอดยาวขนาดใหญ่ จำนวน 6-7 ใบต่อต้น ใบนอกเป็นใบแก่ จำนวน 4 ใบ และใบอ่อนจะอยู่ด้านในจำนวน 2-3 ใบ ส่วนของกายใบ หรือ ลำต้นเทียมมีหน้าที่สะสมอาหารเป็นส่วนที่นำมาบริโภค ดอกผสมตัวเองหรือผสมข้าม
การขยายพันธุ์ของต้นหอมญี่ปุ่น
การใช้เมล็ดและการแยกกอ
ธาตุอาหารหลักที่ต้นหอมญี่ปุ่นต้องการ
ประโยชน์ของต้นหอมญี่ปุ่น
- การทำอาหารจากต้นหอมญี่ปุ่น เช่น ใช้ปรุงรสในน้ำซุป ตับผัดต้นหอม ต้นหอมย่าง หรือทำสุกี้ เป็นต้น
- ต้นหอมมีประโยชน์ต่อคุณแม่ให้นมบุตร ต้นหอมถูกใช้เป็นผักสำหรับช่วยเพิ่มน้ำนมในคุณแม่แรกคลอดที่ต้องให้นมลูก ทำให้มีน้ำนมไหลมากขึ้น
- ช่วยแก้อาการท้องผูก ช่วยระบาย
- ช่วยแก้หวัดได้ ช่วยบรรเทาอาการคัดจมูก แก้หวัด น้ำมูกไหล และแก้ไข้
- ช่วยยับยั้งการเกิดโรคมะเร็ง และมีฤทธิ์ลดอาการอักเสบ ต่อต้านเชื้อแบคทีเรีย
สรรพคุณทางยาของต้นหอมญี่ปุ่น
คุณค่าทางโภชนาการของต้นหอมญี่ปุ่น
ต้นหอมญี่ปุ่น 100 กรัมให้พลังงาน 32 กิโลแคลอรี ประกอบด้วย
- คาร์โบไฮเดรต 7.34 กรัม
- น้ำตาล 2.33 กรัม
- เส้นใยอาหาร 2.6 กรัม
- ไขมัน 0.19 กรัม
- โปรตีน 1.83 กรัม
- น้ำ 89.83กรัม
- วิตามินเอ 996 หน่วยสากล
- วิตามินบี 1 0.055 มิลลิกรัม
- วิตามินบี 2 0.080 มิลลิกรัม
- วิตามินบี 3 0.525 มิลลิกรัม
- วิตามินบี 6 0.061 มิลลิกรัม
- วิตามินซี 18.8 มิลลิกรัม
- วิตามินอี 1.13 มิลลิกรัม
- วิตามินเค 207 ไมโครกรัม
- โฟเลต 64 ไมโครกรัม
- ธาตุแคลเซียม 72 มิลลิกรัม
- ธาตุเหล็ก 1.48 มิลลิกรัม
- ธาตุแมกนีเซียม 20 มิลลิกรัม
- ธาตุฟอสฟอรัส 37 มิลลิกรัม
- ธาตุโพแทสเซียม 276 มิลลิกรัม
- ธาตุโซเดียม 16 มิลลิกรัม
- ธาตุสังกะสี 0.39 มิลลิกรัม
การแปรรูปของต้นหอมญี่ปุ่น
แหล่งข้อมูลที่น่าเชื่อถือ : http://www.bedo.or.th/lcdb/biodiversity/view.aspx?id=11304&SystemType=BEDO
https://www.flickr.com
One Comment