บังบาย
ชื่ออื่นๆ : บังกาย ฝีเสื้อ กะตังบาย(ภาคใต้) กะตังแดง (กรุงเทพ) , เขือง บังใบ กะตังใบ กะตังบาย (ภาคกลาง) , กะลังใบ เขืองแขงม้า (ภาคเหนือ)
ต้นกำเนิด :
ชื่อสามัญ : Leea
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Leea indica (Burm.f.) Merr.
ชื่อวงศ์ : LEEACEAE
ลักษณะของบังบาย
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์
ต้น เป็นพุ่มโปร่งขนาดย่อม สูงประมาณ 5 ฟุต ต้นที่มีอายุมากๆ สูงถึง 2-3 เมตร ใบ ใบประกอบ ใบย่อย รูปไข่ปลายแหลม 3-5 ใบ คล้ายใบกระท่อม ขอบใบจักร มีสีเขียว จัดเหลือบขาวมัน
ตามต้นและกิ่ง มี ครีบ โดยรอบคล้ายฟันเฟือง ดอก เป็นช่อแบน คล้ายดอกเถาคัน แต่โตกว่า ดอกตูมมีสีเขียว ออกดอกบริเวณยอด เมื่อบานสีขาว การขยายพันธุ์ แยกหน่อและเมล็ด
สภาพแวดล้อมที่เหมาะสม เกิดตามป่าดงดิบ และป่าโปร่งทั่วไป

การขยายพันธุ์ของบังบาย
ใช้ส่วนอื่นๆ/
ธาตุอาหารหลักที่บังบาต้องการ
ประโยชน์ของบังบาย กะตังใบ
การใช้ประโยชน์ทางอาหาร ยอดอ่อน รสฝาดมัน รับประทานเป็นผักสด เป็นผักจิ้ม
สรรพคุณทางยาของบังบาย
สรรพคุณยาไทย ราก รสเย็นเมาเบื่อ แก้ไข้ ขับเหงื่อ แก้ปวดเมื่อยตามร่างกาย
แก้ครั่นเนื้อครั่นตัว ดับร้อน
คุณค่าทางโภชนาการของบังบาย
การแปรรูปของบังบาย
แหล่งข้อมูลที่น่าเชื่อถือ : http://www.bedo.or.th/lcdb/biodiversity/view.aspx?id=9859&SystemType=BEDO
https://www.flickr.com