ปอตายไฮ้ ปอไฮ้ ไม้พุ่มรอเลื้อย เปลือกมีเส้นใยเหนียวใช้ทำเชือก

ปอตายไฮ้ ปอไฮ้

ชื่ออื่นๆ : เต่าไห้ พญาไม้ผุ (ราชบุรี) พันไฉน พันไสน (กรุงเทพมหานคร) ปอตับเต่า (ภาคเหนือ เลย)

ต้นกำเนิด :

ชื่อสามัญ : ปอเต่าไห้

ชื่อวิทยาศาสตร์ : Enkeia siamensis

ชื่อวงศ์ : THYMELAEACEAE

ลักษณะของปอตายไฮ้ ปอไฮ้

ไม้พุ่มรอเลื้อยกิ่งก้านมีขนละเอียดสีน้ำตาลสูง2-5เมตรใบเดี่ยวเรียงตรงข้ามรูปขอบขนานแกมใบหอก กว้าง1.5-2.5ซม.ยาว6-10ซม.ดอกช่อออกที่ปลายกิ่งกลีบดอกสีเหลืองหรือขาวอมเหลืองผลสดรูปร่างค่อนข้างกลมหรือรูปไข่

ปอเต่าไห้
ลำต้นและกิ่งมีขนสีน้ำตาล ใบเดี่ยว

การขยายพันธุ์ของปอตายไฮ้ ปอไฮ้

ใช้เมล็ด/-

ธาตุอาหารหลักที่ปอตายไฮ้ ปอไฮ้ต้องการ

ประโยชน์ของปอตายไฮ้ ปอไฮ้

แก่นรักษาโรคประดงแก้ผื่นคันตามผิวหนังแก้โรคเรื้อนรากเป็นยาถ่ายยาระบายเปลือกมีเส้นใยเหนียวทำเชือก(จากการสัมภาษณ์และการจัดประชุมเสวนาผู้นำชุมชนท้องถิ่น)

สรรพคุณทางยาของปอตายไฮ้ ปอไฮ้

แก่น แก้ประดง แก้ผื่นคันตามผิวหนัง แก้โรคเรื้อน คุดทะราด แก้ไอ แก้หืด ขับเสมหะ ขับลม
ราก ใช้ประมาณ 2 ข้อนิ้วมือ ต้มน้ำดื่ม เป็นยาระบาย
ใบ ต้ม ใช้รักษาโรคตา
ผล ใช้เป็นยาถ่าย

คุณค่าทางโภชนาการของปอตายไฮ้ ปอไฮ้

การแปรรูปของปอตายไฮ้ ปอไฮ้

แหล่งข้อมูลที่น่าเชื่อถือ : http://www.bedo.or.th/lcdb/biodiversity/view.aspx?id=9271&SystemType=BEDO
https://www.flickr.com

Add a Comment