ผักเบี้ยดิน
ชื่ออื่นๆ : ผักเบี้ยดิน สะเดาดิน ผักลืมผัว
ต้นกำเนิด :
ชื่อสามัญ : –
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Lobelia nummularia Lam.
ชื่อวงศ์ : CAMPANULACEAE
ลักษณะของผักเบี้ยดิน
ไม้ล้มลุกทอดเลื้อยไปตามพื้น ค่อนข้างอวบน้ำ ใบเป็นใบเดี่ยวรูปไข่กว้างถึงเกือบกลม กว้าง 0.8-3.5 ซม. ยาว 0.5-4 ซม. โคนใบรูปหัวใจหรือเว้า ปลายใบแหลมหรือมน ขอบใบจัก ก้านใบสั้น ดอกมีสีม่วง ขอบกลีบสีขาว เป็นดอกเดี่ยว ออกตามซอกใบ กลีบดอก 5 กลีบ ปลายแหลม 3 กลีบ มีขนาดใหญ่ อีก 2 กลีบขนาดเล็กกว่า เรียงตัวเป็นรูปคล้ายครึ่งวงกลม เกสรผู้ 5 อัน โคนเชื่อมติดกัน ผลสีม่วงเข้มรูปรีหรือกลม กว้าง 5-13 มม. ยาว 6-16 มม. เมล็ดแบนรีสีน้ำตาล ขนาดประมาณ 1 มม.
การขยายพันธุ์ของเบี้ยดิน
พบในธรรมชาติตามที่เปิดหรือร่ม ชุ่มชื้น ที่ระดับความสูง 600-3,300 เมตร ปลูกประดับได้ในที่อากาศค่อนข้างเย็น
ธาตุอาหารหลักที่เบี้ยดินต้องการ
ประโยชน์ของเบี้ยดิน
นำมาเป็นไม้ประดับในกระถางได้
สรรพคุณทางยาของเบี้ยดิน
คุณค่าทางโภชนาการของเบี้ยดิน
การแปรรูปของผักเบี้ยดิน
แหล่งข้อมูลที่น่าเชื่อถือ : http://www.bedo.or.th/lcdb/biodiversity/view.aspx?id=11712&SystemType=BEDO
https://www.flickr.com