ผักแส้วหรือผักแซ่ว ผักพื้นบ้านของทางภาคเหนือ ยอดอ่อนและใบอ่อนสด มีรสขมอมหวาน นำมาทานร่วมกับน้ำพริก

ผักแส้ว

ชื่ออื่นๆ : ผักแส้วหรือผักแซ่ว (เหนือ) เถาวัลย์ดำ (สระบุรี)

ต้นกำเนิด :

ชื่อสามัญ : –

ชื่อวิทยาศาสตร์ : Marsdenia glabra Cost

ชื่อวงศ์ : OLEACEAE

ลักษณะของผักแส้ว

ต้น เป็นไม้เลื้อย ลำต้นเป็นเถากลมขนาดเล็กสีเขียว บางช่วงเลื้อยงอไปงอมา เถามีเส้นผ่าศูนย์กลาง 0.01-0.15 ซม.

ใบ ใบเดี่ยวออกตรงกันข้ามกัน ใบมีสีเขียวเป็นรูปหอกปนรูปไข่กว้าง2-4ซม. ใบยาว 4-12 ซม. ก้านใบสั้น 0.05-2 ซม. หลังใบสีเขียวเข้มกว่าท้องใบขอบใบเรียบ ปลายใบแหลม ฐานใบสอบแหลม

ดอก ดอกมีกลีบดอกสีขาว กลีบดอกเล็กเรียวแหลมยาว 3-5 เมตรดอกมีกลิ่นหอม

ผล ผลมีขนาดเล็ก กว้าง 6 มม. ยาว 5 ซม.

เมล็ด มีขนาดเล็ก

ผักแส้ว
ผักแส้ว ไม้เลื้อย ใบมีสีเขียวเป็นรูปหอก

การขยายพันธุ์ของผักแส้ว

ใช้เหง้า

ธาตุอาหารหลักที่ผักแส้วต้องการ

ประโยชน์ของผักแส้ว

ผักแส้วเป็นผักพื้นบ้านของทางภาคเหนือ ยอดอ่อนและใบอ่อนสด มีรสขมอมหวาน นำมายำกับปลาทูนึ่ง ใบอ่อนสดเป็นผักจิ้มร่วมกับ น้ำพริกไข่มดแดงหรือนำมาแกงกับปลาแห้งหรือนำมาแกงแคร่วมกับผักชนิดต่าง ๆ หรือนำมาลวกนึ่ง  เป็นผักจิ้มร่วมกับน้ำพริกเเดงหรือน้ำพริกปลาร้า

สรรพคุณทางยาของผักแส้ว

  • ใบ ช่วยเจริญอาหาร แก้ไข้กระหายน้ำ บำรุงร่างกาย
  • ดอก บำรุงหัวใจบไำรุงครรภ์รักษาแก้ไข้ตัวร้อน
  • ราก ถอนพิษยาเบื่อเมา ถอนพิษไข้ถอนพิษอักเสบต่างๆ

คุณค่าทางโภชนาการของผักแส้ว

การแปรรูปของผักแส้ว

แหล่งข้อมูลที่น่าเชื่อถือ : http://www.bedo.or.th/lcdb/biodiversity/view.aspx?id=9457&SystemType=BEDO
https://cdn.gotoknow.org

Add a Comment