มะดะหลวง
ชื่ออื่นๆ : มะดะ, มังคุดป่า, จะค้าส่า
ต้นกำเนิด :
ชื่อสามัญ : Egg tree
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Garcinia xanthochymus Hook. f.
ชื่อวงศ์ : GUTTIFERAE
ลักษณะของมะดะหลวง
ต้น ไม้ยืนต้นขนาดกลาง สูงประมาณ 10-20 เมตร เรือนยอดเป็นพุ่มแน่น เปลือกลำต้นหนาสีเทา มีน้ำยางสีขาวขุ่น
ใบ ใบเดี่ยวเรียงเป็นคู่สลับกัน ปลายยอดแยกได้เล็กน้อย แผ่นใบแผ่รูปรีแกมรูปขอบขนาน ขนาดใบกว้าง 4-6 ซม. ยาว 7-15 ซม ผิวใบเกลี้ยง ปาลใบมน โคนใบสอบ ก้านใบยาว 1-1.5 ซม. ใบแห้งสีน้ำตาลอ่อนแกมชมพู
ดอก ดอกออกตามซอกใบแยกเพศคนละต้น ดอกเพศผู้สีชมพูถึงแดง เส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 1 ซม. กลีบดอกหนา 5 กลีบ เกสรตัวผู้มีจำนวนมาก
ผล ผลอ่อนสีเขียวค่อนข้างกลม เมื่อแก่จะเปลี่ยนเป็นสีเหลือง มีกลีบเลี้ยงติดอยู่ เส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 3-6 ซม. เมล็ดมีผิวบางขนาดค่อนข้างโต ฝังอยู่ในเนื้อมีสีส้ม
การขยายพันธุ์ของมะดะหลวง
ใช้เมล็ด
ธาตุอาหารหลักที่มะดะหลวงต้องการ
ประโยชน์ของมะดะหลวง
สรรพคุณทางยาของมะดะหลวง
- น้ำต้มผลแห้งปรุงรสด้วยน้ำตาลใช้ดื่มแก้ตับผิดปกติ
คุณค่าทางโภชนาการของมะดะหลวง
การแปรรูปของมะดะหลวง
แหล่งข้อมูลที่น่าเชื่อถือ : http://www.bedo.or.th/lcdb/biodiversity/view.aspx?id=9314&SystemType=BEDO
https://www.flickr.com