ต้นสะเม็ก เป็นพืชที่หายาก ขึ้นในป่าดิบเขาและมีอากาศเย็น

สะเม็ก

ชื่ออื่นๆ : สะเม็ก, ประทัดดอย

ต้นกำเนิด : ภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

ชื่อสามัญ :

ชื่อวิทยาศาสตร์ : Agapetes lobbii C.B. Clarke

ชื่อวงศ์ : ERICACEAE

ลักษณะของสะเม็ก

ต้น  ไม้พุ่มอิงอาศัย ไม่ผลัดใบ แตกกิ่งระเกะระกะ มีรากอวบขนาดใหญ่ อุ้มน้ำ เกาะตามต้นไม้ใหญ่ที่มอสส์ปกคลุม

ต้นสะเม็ก
ต้นสะเม็ก ไม้พุ่มอิงอาศัย มีรากอวบขนาดใหญ่ อุ้มน้ำ

ใบ  ใบเดี่ยว เรียงเวียนสลับเป็นกลุ่ม ปลายใบเรียวแหลม ขอบใบเรียบ แผ่นใบหนา

ใบสะเม็ก
ใบสะเม็ก ใบเดีี่ยว ปลายใบเรียวแหลม

ดอก  ดอกออกเป็นช่อที่กิ่ง ก้านดอกสีชมพูอมแดง กลีบเลี้ยงสีเขียวอมแดงแฉกเรียวแหลม โคนหลอดกลีบดอกสีแดงจางลงเป็นสีชมพูที่ปลายหลอด ปลายแยกเป็น 5 แฉก เกสรเพศผู้ติดกัน อับเรณูสีเหลือง เกสรเพศเมียสีเขียวยาวพ้มอับเรณู ออกดอกเดือนธันวาคม-กุมภาพันธ์

ดอกสะเม็ก
ดอกสะเม็ก ดอกสีชมพูอมแดง กลีบเลี้ยงสีเขียวอมแดงแฉกเรียวแหลม

ผล  ติดผลเดือนมีนาคม

การขยายพันธุ์ของสะเม็ก

ขึ้นในป่าดิบเขาที่ค่อนข้างโปร่งและมีอากาศเย็นตลอดปี ที่ระดับความสูง 1,100 – 2,300 เมตร

ธาตุอาหารหลักที่สะเม็กต้องการ

ประโยชน์ของสะเม็ก

  • เป็นพืชหายาก

สรรพคุณทางยาของสะเม็ก

คุณค่าทางโภชนาการของสะเม็ก

การแปรรูปของสะเม็ก

แหล่งข้อมูลที่น่าเชื่อถือ : www.forest.go.th, www.rspg.or.th

ภาพประกอบ : www.flickr.com

เรียบเรียงข้อมูลโดย :  เกษตรตำบล.คอม

2 Comments

Add a Comment