ส้มมอ สมอ
ชื่ออื่นๆ : สมอ (นครราชสีมา) ม่าแน่ (เชียงใหม่) สมอไทย (ภาคกลาง) หมากแน่ะ (แม่ฮ่องสอน) มะน่ะ หมากนะ ส้มมอ
ต้นกำเนิด :
ชื่อสามัญ : สมอไทย
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Terminalia chebula Retz
ชื่อวงศ์ : COMBRETAECAE
ลักษณะของส้มมอ สมอ
ไม้ยืนต้นใบเดี่ยวเรียงสลับใบรูปไข่กว้างประมาณ7ซม.ยาวประมาณ 15ซม.ผิวใบด้านล่างมีขนสีน้ำตาลแดงมีต่อมที่ก้านใบดอกช่อออกตามซอกใบหรือปลายยอดกลีบเลี้ยงรูปถ้วยปลายแยกเป็นห้ากลีบผลมีเมล็ดเดี่ยวแข็งรูปทรงกลมรีเมล็ดรูปกระสวย

การขยายพันธุ์ของส้มมอ สมอ
ใช้เมล็ด/
ธาตุอาหารหลักที่ส้มมอ สมอต้องการ
ประโยชน์ของส้มมอ สมอ
ดอกแก้บิด ผลแก่ แก้ไข้ ขับเสมหะ แก้จุกเสียด บำรุงร่างกายแก่นไม้แก้บิด แก้ท้องผูก แก้หืดไอ ผลอ่อนแก้โลหิตในท้อง แก้น้ำดี แก้เสมหะ เปลือกต้นต้มดื่มบำรุงหัวใจ ขับปัสสาวะ(จากการสัมภาษณ์และการจัดประชุมเสวนาผู้รู้ในท้องถิ่น)
สรรพคุณทางยาของส้มมอ สมอ
เปลือกและผลส้มมอมีรสฝาดจากสารแทนนิน มีสรรพคุณเป็นยาอายุวัฒนะ และมีวิตามินซีสูง หรือใช้รากเข้าตำรับยารักษาริดสีดวงทวาร
คุณค่าทางโภชนาการของส้มมอ สมอ
การแปรรูปของส้มมอ สมอ
แหล่งข้อมูลที่น่าเชื่อถือ : http://www.bedo.or.th/lcdb/biodiversity/view.aspx?id=9293&SystemType=BEDO
https://www.flickr.com