หญ้าตีนนก ต้นอ่อนใช้เป็นอาหารสัตว์ได้ดี

หญ้าปากคอก หญ้าตีนนก

ชื่ออื่นๆ : หญ้าตีนกา หญ้าปากควาย (ภาคกลาง) หญ้าตีนนก (กรุงเทพ)หญ้าปากคอก (สระบุรี) หญ้าผากควาย (ภาคเหนือ) เยอคุม (เงี้ยว) หญ้าข้อแดง(ภาคใต้)

ต้นกำเนิด : ประเทศเม็กซิโก

ชื่อสามัญ : หญ้าตีนนก Goose grass, Fowe foot grass, Wire grass, Yard grass

ชื่อวิทยาศาสตร์ : Eleusine indica (L.) Gaertn

ชื่อวงศ์ : Gramineae (Poaceae)

ลักษณะของหญ้าหญ้าตีนนก

เป็นพืชใบเลี้ยงเดี่ยว ลำต้นสั้นตั้งเป็นกอ ความสูงของกอประมาณ 50 ซม. ลำต้นแบนสีขาว – เขียวอ่อน แตกต้นใหม่ที่โคนกอเป็นกอขนาดใหญ่ ใบรูปแถบยาวปลายเรียวแหลม โคนใบมีขนไม่แข็งนัก กาบใบค่อนข้างใหญ่สีเขียวอ่อน – ขาวหุ้มซ้อนทับใบที่เกิดลำดับหลัง ออกดอกที่ปลายยอด ก้านดอกสีเขียวกลมยาว และแตกช่อดอกที่ส่วนปลาย 3 – 8 ช่อ ในแต่ละช่อย่อยมีดอกย่อยจำนวนมาก

ต้นหญ้าต้นนก
ต้นหญ้าต้นนก ลำต้นแบนสีขาวถึงเขียวอ่อน
ดอกหญ้าต้นนก
ดอกหญ้าต้นนก ออกดอกที่ปลายยอด ก้านดอกสีเขียวกลมยาว

การขยายพันธุ์ของหญ้าตีนนก

ใช้เมล็ด/แยกกอ และเพาะเมล็ด

ธาตุอาหารหลักที่หญ้าตีนนกต้องการ

ประโยชน์ของหญ้าตีนนก

ต้นอ่อนใช้เป็นอาหารสัตว์ได้ดี โดยการตัด หรือปล่อยสัตว์แทะเล็ม

สรรพคุณทางยาของหญ้าตีนนก

รากแก้อาการท้องอืด ลดไข้ ขับปัสสาวะ

คุณค่าทางโภชนาการของหญ้าตีนนก

การแปรรูปของหญ้าตีนนก

แหล่งข้อมูลที่น่าเชื่อถือ : http://www.bedo.or.th/lcdb/biodiversity/view.aspx?id=11530&SystemType=BEDO
https://www.flickr.com

One Comment

Add a Comment