หนามโค้ง หรือ ผักงวม ผักพื้นบ้านทางภาคเหนือ ฝักอ่อนใช้ทำเป็นเมนูอาหาร มีรสชาติเปรี้ยวอมฝาด

หนามโค้ง

ชื่ออื่นๆ : นวม (ลำปาง), งวม ผักงวม (อุตรดิตถ์), พาย่วม หนามโค้ง (ภาคเหนือ)

ต้นกำเนิด :

ชื่อสามัญ :

ชื่อวิทยาศาสตร์ : Caesalpinia furfuracea (Prain) Hattink

ชื่อวงศ์ : FABACEAE หรือ LEGUMINOSAE

ลักษณะของหนามโค้ง

ต้น  เป็นไม้เถาเลื้อยพาดพันต้นไม้อื่น มีเนื้อไม้แข็ง มีหนามแหลมโค้งเป็นคู่ทั่วทั้งลำต้น เปลือกเถาเป็นสีน้ำตาล

ใบ  ใบเป็นใบประกอบแบบขนนกสองชั้น ออกเรียงสลับ ลักษณะของใบย่อยเป็นรูปขอบขนาน ปลายใบมน โคนใบเบี้ยว แผ่นใบบาง ใบย่อยนั้นมีขนาดเล็ก

ดอก  ออกดอกเป็นช่อที่ปลายยอด ดอกเป็นสีเหลือง กลีบดอกมี 4 กลีบ และมีกลีบเลี้ยงดอก 4 กลีบ

ผล  ผลมีลักษณะเป็นฝักแบน ปลายฝักแหลม โคนฝักแหลม ภายในฝักมีเมล็ดประมาณ 4-6 เมล็ด เมล็ดมีลักษณะแบน

ต้นหนามโค้ง
ต้นหนามโค้ง ไม้เถาเลื้อย ดอกสีเหลือง
ผลหนามโค้ง
ผลหนามโค้ง ฝักแบน ปลายฝักแหลม

การขยายพันธุ์ของหนามโค้ง

ใช้เมล็ด

ธาตุอาหารหลักที่หนามโค้งต้องการ

ประโยชน์ของจิกหนามโค้ง

ผักพื้นบ้านทางภาคเหนือ ฝักอ่อนใช้ทำเป็นเมนูอาหาร เช่น ยำ ส้า มีรสชาติเปรี้ยวอมฝาด

สรรพคุณทางยาของหนามโค้ง

  • ฝัก มีรสเปรี้ยวอมฝาด ใช้เป็นยาแก้ไข้ ยาช่วยกัดเสมหะ เป็นยาระบายอ่อน ๆ ช่วยในการย่อยอาหาร

คุณค่าทางโภชนาการของจิกหนามโค้ง

การแปรรูปของหนามโค้ง

แหล่งข้อมูลที่น่าเชื่อถือ : http://www.bedo.or.th/lcdb/biodiversity/view.aspx?id=11825&SystemType=BEDO
https://thainews.prd.go.th
https://www.gotoknow.org

One Comment

Add a Comment