ปราบดินหอมเจ็ดชั้น
ชื่ออื่นๆ : หอมเจ็ดชั้น, จันทนาใบเล็ก, จันทร์หอม
ต้นกำเนิด : –
ชื่อสามัญ : –
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Tarenna wallichii (Hook. f.) Ridl.
ชื่อวงศ์ : RUBIACEAE
ลักษณะของหอมเจ็ดชั้น
ต้น ไม้พุ่ม สูง 2-5 เมตร กิ่งเปราะ เปลือกสีเทาอมดำ
ใบ ใบเดี่ยว เรียงตรงข้าม รูปขอบขนาน ปลายเรียวแหลม โคนสอบ ขอบเรียบ แผ่นใบหนาสีเขียวเป็นมัน
ดอก ดอกออกเป็นช่อกระจุก ตามซอกใบใกล้ปลายกิ่งและปลายกิ่ง ดอกคล้ายดอกเข็ม ดอกสีขาวหรือขาวอมเหลือง กลีบเลี้ยงรูปถ้วยสีเขียว กลีบดอกเชื่อมติดกันเป็นหลอดยาว ปลายแยกเป็น 5 แฉก เกสรเพศผู้ 5 เกสร ดอกส่งกลิ่นหอมแรงตลอดวัน
การขยายพันธุ์ของหอมเจ็ดชั้น
การเพาะเมล็ด, ปักชำกิ่งและตอนกิ่ง
เป็นต้นไม้ที่เลี้ยงง่าย ไม่ต้องดูแลมาก นิสัยอย่างหนึ่งที่ไม้ดอกเป็นเหมือนกันทุกต้น ไม่ว่าจะไม้ยืนต้น ไม้ดอกเล็กๆ ก็คือ ชอบแสงแดด ยิ่งโดนแดดยิ่งออกดอกดก อยู่ได้ทั้งแดดเต็มวัน ครึ่งวันหรือแดดรำไร แต่ถ้าเป็นแดดรำไร
ธาตุอาหารหลักที่หอมเจ็ดชั้นต้องการ
ประโยชน์ของหอมเจ็ดชั้น
ต้นหอมเจ็ดชั้น นิยมปลูกเป็นไม้ประดับ เป็นไม้มงคล
สรรพคุณทางยาของหอมเจ็ดชั้น
คุณค่าทางโภชนาการของหอมเจ็ดชั้น
การแปรรูปของหอมเจ็ดชั้น
แหล่งข้อมูลที่น่าเชื่อถือ : http://www.bedo.or.th/lcdb/biodiversity/view.aspx?id=10761&SystemType=BEDO
http ://sm.ac.th
https://www.flickr.com