หูลิง แฟบหูลิง(ใต้)
ชื่ออื่นๆ : ก้างปลาขาว (สุโขทัย) หมักแฟบ (พิษณุโลก) หูด้าง (สุรินทร์) หัวลิง (นครพนม, อุบลราชธานี, สุรินทร์, ขอนแก่น, นครราชสีมา) แควบ,แฟบ (ชลบุรี) แฟบหัวลิง (ใต้) หูลิง
ต้นกำเนิด :
ชื่อสามัญ : แฟบน้ำ
ชื่อวิทยาศาสตร์ : HYMENOCARDIA WALLICHII
ชื่อวงศ์ : Phyllanthaceae
ลักษณะของหูลิง แฟบหูลิง(ใต้)
ต้น ไม้พุ่ม หรือไม้ยืนต้นขนาดเล็ก ผลัดใบ สูง 15-5 เมตร
ใบ ใบเดี่ยว เรียงสลับ รูปไข่ กว้าง 1.5-3 ซม. ยาว2.5-7 ซม.ท้องใบมีขนอ่อนๆ และต่อม
ดอก ดอกแยกเพศ อยู่บนต้นเดียวกันดอกตัวผู้เป็นช่อเชิงลด สีเหลืองละเอียด ดอกตัวเมีย เป็นช่อกระจะสั้น ๆ
ผล ผลแตก แบน กว้าง 2 พู คล้ายปีกเมล็ดเดียว ขนาดเท่าหัวแม่มือ สีเขียว มีรสเปรี้ยวออกผลในฤดูแล้ง
การขยายพันธุ์ของหูลิง แฟบหูลิง(ใต้)
ปักชำลำต้น
ธาตุอาหารหลักที่หูลิง แฟบหูลิง(ใต้)ต้องการ
ประโยชน์ของหูลิง แฟบหูลิง(ใต้)
ผลอ่อน กินสดจิ้มน้ำพริก นำไปปรุงอาหาร เช่น แกงเลียง แกงส้ม
สรรพคุณทางยาของหูลิง แฟบหูลิง(ใต้)
ลำต้น ผสมรากการเวก รากตับเต่าต้น รากเอ็นอ้าข้น รากกำจาย ลำต้นอ้อยแดง ต้มน้ำดื่ม แก้ผดสำแดง
คุณค่าทางโภชนาการของหูลิง แฟบหูลิง(ใต้)
การแปรรูปของหูลิง แฟบหูลิง(ใต้)
แหล่งข้อมูลที่น่าเชื่อถือ : http://www.bedo.or.th/lcdb/biodiversity/view.aspx?id=10874&SystemType=BEDO
https://www.flickr.com