ตำลึงตัวผู้ ตำลึงตัวผู้ออกดอก แต่ไม่มีลูกเหมือนตัวเมีย

ตำลึงตัวผู้

ชื่ออื่นๆ : ตำลึง ตำลึงตัวผู้  บังกาเชียงใหม่เรียก ผักแคบ

ต้นกำเนิด :

ชื่อสามัญ : ตำลึงตัวผู้

ชื่อวิทยาศาสตร์ : Solena amplexicaulis (Lam.) Gandhi

ชื่อวงศ์ : Cucurbitaceae

ลักษณะของตำลึงตัวผู้

ต้นตำลึงตัวผู้ เป็นไม้เถาที่มีหนวดจับยึดเลื้อยไปได้ทั้งสูงและพื้นราบ
ใบสีเขียว ใบเว้าด้านข้าง ดอกตำลึงเป็นสีขาว มีแฉก 5 แฉกตำลึงตัวผู้ออกดอก แต่ไม่มีลูกเหมือนตัวเมีย เป็นไม้ที่ทนมากเพราะถ้าแห้งเหี่ยวตายไปแล้วในหน้าแล้ง
ถ้ามีน้ำหรือฝนตกลงมาก็จะสามารถฟื้นตัวกลับมาได้

ตำลึงตัวผู้
ไม้เถาที่มีหนวดจับยึดเลื้อย ใบสีเขียว

การขยายพันธุ์ของตำลึงตัวผู้

ใช้เมล็ด/ส่วนมาตำลึงจะขึ้นเองตามธรรมชาติ ปลูกได้ง่ายในดินทั่วไป
มีเลือกขอให้มีความชุ่มชื้นของน้ำก็งอกงามได้เสมอ ถ้าจะปลูกก็เพาะเมล็ด จากผลที่แก่ของตำลึงตัวเมียกำด้แล้วเลือกเอาตำลึคงตัวผู้ปลูกที่หลัง
โดยสังเกตที่ใบเว้าลึกๆจะแตกต่างจากตัวเมีย

ธาตุอาหารหลักที่ตำลึงตัวผู้ต้องการ

ประโยชน์ของตำลึงตัวผู้

สรรพคุณทางยาของตำลึงตัวผู้

เอาใบตำลึงตัวผู้มาพอกดับพิษร้อน ถอนพิษไข้ได้ดี
ทาตามร่างกายที่ถูกพิษต่างๆ เช่นพิษจากแมลง ใบหญ้า อาการแสบๆคันคันๆ
จะหายไปได้

คุณค่าทางโภชนาการของตำลึงตัวผู้

การแปรรูปของตำลึงตัวผู้

แหล่งข้อมูลที่น่าเชื่อถือ : http://www.bedo.or.th/lcdb/biodiversity/view.aspx?id=11819&SystemType=BEDO
https://www.flickr.com

Add a Comment