เฟิร์น
ชื่ออื่นๆ : เฟิน
ต้นกำเนิด :
ชื่อสามัญ : Ladder Fern, Sword Fern, Fishbone
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Pteridophyta
ชื่อวงศ์ : OLEANDRACEAE
ลักษณะของเฟิร์น
เฟิร์นจัดเป็นพืชกลุ่มที่มีท่อลำเลียง ำม้โดยพืชกลุ่มเฟิร์นนี้แยกเป็นเฟิร์นและกลุ่มที่ใกล้เคียงกับเฟิร์น ซึ่งพืชกลุ่มนี้มีวงชีวิตคล้ายเฟิร์น เพียงแต่ว่าใบและลำต้นพัฒนาน้อยกว่าเฟิร์นแท้
ลำต้น: โดยมากมักเป็นเหง้าอยู่ใต้ดิน บางครั้งก็เป็นไหลอยู่เหนือดิน หรือลำต้นตั้งตรงเนื้อคล้ายไม้เหนือดิน
ใบ: สีเขียวเป็นส่วนที่ใช้ในการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช ใบเฟิร์นมักเรียกว่าใบเฟิร์น (ใบไม้ที่แยกออกเป็นส่วนเล็กๆหลายส่วน)
การขยายพันธุ์ของเฟิร์น
ใช้หัว/เหง้า/หน่อ/การขยายพันธุ์เฟินทำได้หลายวิธี คือ การเพาะสปอร์ การแยกเหง้า และการชำตา
ธาตุอาหารหลักที่เฟิร์นต้องการ
ประโยชน์ของเฟิร์น
ใช้เป็นสมุนไพร และ ใช้เป็นไม้ประดับ
เฟิร์นเป็นพืชสีเขียวที่ไร้ดอก ส่วนใหญ่จะสืบพันธุ์โดยการสร้างสปอร์ ยังมีพืชสีเขียวที่ไร้ดอกพวกอื่นๆ อีก เช่น มอส ลิเวอร์เวิร์ต ฮอร์นเวิร์ต หวายทะนอย ตีนตุ๊กแก สร้อยนางกรองช้องนางคลี่ กระเทียมน้ำ หญ้าถอดปล้อง ปรง สน และมะเมื่อย ซึ่งก็สืบพันธุ์โดยการสร้างสปอร์เช่นเดียวกัน โดยที่เฟิร์นจะแตกต่างจากพืชสีเขียวที่ไร้ดอกอื่นๆ ตรงลักษณะของใบอ่อนที่ม้วนขดนั่นเอง มอสและลิเวอร์เวิร์ต จะสามารถสังเกตได้ง่ายว่าแตกต่างจากเฟิร์นที่มักจะมีขนาดเล็กและบอบบาง ส่วนปรง สนแป๊ะก๊วย และมะเมื่อยแตกต่างจากเฟิร์นที่เป็นพืชที่มีขนาดใหญ่ มักจะมีเนื้อไม้แข็ง และสร้างเมล็ดซึ่งใช้ในการสืบพันธุ์ นอกเหนือจากการสร้างสปอร์ ในขณะที่หวาย ทะนอย ตีนตุ๊กแก สร้อยนางกรอง ช้องนางคลี่กระเทียมน้ำ หญ้าถอดปล้อง มีลักษณะต่างๆ รวมทั้งวัฎจักรชีวิตที่ใกล้เคียงกับเฟิร์นมาก
สรรพคุณทางยาของเฟิร์น
คุณค่าทางโภชนาการของเฟิร์น
การแปรรูปของเฟิร์น
แหล่งข้อมูลที่น่าเชื่อถือ : http://www.bedo.or.th/lcdb/biodiversity/view.aspx?id=10679&SystemType=BEDO
https://www.flickr.com
3 Comments