เฟิร์นใบมะขาม ใบมีลักษณะคล้ายใบมะขาม นิยมปลูกลงกระถางหรือตะกร้า

เฟิร์นใบมะขาม

ชื่ออื่นๆ : กูดสร้อย

ต้นกำเนิด : ในเขตร้อนหรือกึ่งร้อน ในไทยพบทางภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มักพบตามซอกหิน พื้นดิน หรือที่ลาดชัน ไปถึงคาคบไม้สูงๆ เป็นชนิดที่นิยมปลูกกันมากที่สุด

ชื่อสามัญ :

ชื่อวิทยาศาสตร์ : Nephrolepis cordifolia Presl

ชื่อวงศ์ : OLEANDRACEAE

ลักษณะของเฟิร์นใบมะขาม

ต้น  ลำต้นมีเหง้าและไหลเลื้อย และงอกเป็นไม้ใหม่ได้ตลอดเวลา

ใบ   ลักษณะคล้ายใบมะขาม  ใบประกอบแบบขนนก ขอบจักตื้น  ปลายคี่ ใบอ่อนสีเขียวอ่อน ใบแก่สีเขียวแก่
กว้าง 0.5 เซนติเมตร ยาว 2.3 เซนติเมตร  เรียงตรงข้าม รูปแถบ ปลายใบเป็นติ่งหนาม โคนใบเป็นรูปติ่งหู ขอบใบหยัก

เฟิร์นใบมะขาม
เฟิร์นใบมะขาม ลำต้นมีเหง้าและไหลเลื้อย ใบประกอบแบบขนนก

การขยายพันธุ์ของเฟิร์นใบมะขาม

การแยกไหล หรือหน่อ

ธาตุอาหารหลักที่เฟิร์นใบมะขามต้องการ

ไม่ควรปลูกในที่แสงส่องโดยตรง ปุ๋ยก็ใช้ปุ๋ยคอกหรือปุ๋ยหมัก

ประโยชน์ของเฟิร์นใบมะขาม

ใช้ประดับได้แจกันและกำช่อดอกไม้ได้ นิยมปลูกลงกระถางหรือตะกร้าเพื่อแขวนดูใบที่สวยงาม ปลูกลงดินเป็นไม้คลุมดิน

สรรพคุณทางยาของเฟิร์นใบมะขาม

คุณค่าทางโภชนาการของเฟิร์นใบมะขาม

การแปรรูปของเฟิร์นใบมะขาม

แหล่งข้อมูลที่น่าเชื่อถือ : http://www.bedo.or.th/lcdb/biodiversity/view.aspx?id=10460&SystemType=BEDO
http://www.wattano.ac.th

One Comment

Add a Comment