ไผ่ซางทอง นิยมปลูกประดับเพื่อตกแต่งสวน

ไผ่ซางทอง

ชื่ออื่นๆ : ไผ่สีทอง, ไผ่เหลืองทอง, ไผ่เหลือง

ต้นกำเนิด : เอเชียตะวันออกเฉียงใต้

ชื่อสามัญ : GramineaeYellow running bamboo, Moso bamboo

ชื่อวิทยาศาสตร์ :  Phyllostachys sulphurea (Carr.)

ชื่อวงศ์ : Gramineae

ลักษณะของไผ่ซางทอง

พืชล้มลุกอายุหลายปี เป็นไม้พุ่มเป็นกอ ลำต้นตั้งตรง กลม เป็นทรงกระบอก
กลวง ขนาด 5-8 เซนติเมตร ผิวเกลี้ยง สีเหลืองมีเส้นแถบสีเขียวอ่อนตามยาวบ้าง ไม่มีหนาม เนื้อเเข็ง มีช้อปล้อง
ชัดเจน แต่ละปล้องยาว 30-40 เซนติเมตร มีเหง้าใต้ดิน

ไผ่ซางทอง
ไผ่ซางทอง ลำต้นตั้งตรง ผิวเกลี้ยง สีเหลือง

การขยายพันธุ์ของไผ่ซางทอง

1. การปลูกในแปลงปลูกเพื่อประดับบริเวณบ้านและสวน โบราณนิยมปลูกบริเวณรั้วบ้าน ขนาดหลุมปลูก 30 x 30 x 30
เซนติเมตรใช้ปุ๋ยคอกหรือปุ๋ยหมัก:ดินร่วนอัตรา 1:2 ผสมดินปลูกและใช้ฟูราดาอัตรา 50-100 กรัม/ต้นรองก้นหลุมเพื่อ
ป้องกันหนอนและด้วง

2. การปลูกในกระถางเพื่อประดับภายนอกอาคารบ้านเรือน นิยมใช้เป็ฯไม้ประดับภายนอก ควรใช้กระถางทรงสูงขนาด
18-24 นิ้วใช้ปุ๋ยคอกหรือปุ๋ยหมัก:ดินร่วนอัตรา1:1 ผสมดินปลูกและควรเปลี่ยนกระถาง 1-2 ปี/ครั้งหรือแล้วแต่ความ
เหมาt สมของทรงต้น เพราะการขยายตัวของรากแน่นเกินไป และเพื่อเปลี่ยนดินปลูกใหม่ทดแทนดินเดิมที่เสื่อม
ภาพไป สำหรับการปลูกในกระถาง ควรเลือกพันธุ์ขนาดเล็กและเหมาะสม เช่น ไผ่เตี้ย ไผ่น้ำเต้า

ธาตุอาหารหลักที่ไผ่ซางทองต้องการ

ประโยชน์ของไผ่ซางทอง

ไผ่ประดับที่นิยมปลูกตามบ้านเรือน รวมถึงนิยมปลูกประดับเพื่อตกแต่งสวน ตกแต่งร้าน  ส่วนหน่อใช้ประกอบอาหาร

สรรพคุณทางยาของไผ่ซางทอง

ในทางสมุนไพรคนไทยสมัยก่อนนิยมนำไผ่สีทองมาต้มน้ำดื่ม  เพื่อช่วยลดไข้ช่วยละลายเสมหะ รักษาโรคบิด ช่วยขับปัสสาวะ

คุณค่าทางโภชนาการของไผ่ซางทอง

การแปรรูปของไผ่ซางทอง

แหล่งข้อมูลที่น่าเชื่อถือ : http://www.bedo.or.th/lcdb/biodiversity/view.aspx?id=9616&SystemType=BEDO
https://www.flickr.com

Add a Comment