หนอนตายหยากเล็ก รากใช้สระผมฆ่าเหา

หนอนตายหยากเล็ก

ชื่ออื่นๆ : กะเพียด (ชลบุรี, ประจวบคีรีขันธ์) ป้งสามสิบ (คนเมือง) โปร่งมดง่าม, ปงมดง่าม (เชียงใหม่) หนอนตายยาก (ลำปาง) หนอนตายหยาก (แม่ฮ่องสอน) เครือสามสิบกีบ

ต้นกำเนิด :

ชื่อสามัญ : สามสิบกีบ

ชื่อวิทยาศาสตร์ : Stemona tuberosa Lour.

ชื่อวงศ์ : STEMONACEAE

ลักษณะของหนอนตายหยากเล็ก

ต้น  ไม้เลื้อยล้มลุกอายุหลายปียาวได้ถึง 10 เมตร รากรูปกระสวยออกเป็นกระจุกคล้ายรากกระชาย ลำต้นมีสีเขียวอวบน้ำ

ใบ  ใบเดี่ยวเรียงสลับรูปไข่กว้าง 2-4 ซม. ยาว 7-10 ซม.

ดอก  ดอกช่อออกที่ซอกใบดอกย่อย 2-3 ดอก กลีบรวมสีเหลืองอ่อนมีเส้นสีเขียวตามยาวตรงกลางดอกสีแดงกลิ่นเหม็น  ออกดอกราวเดือนมีนาคมถึงพฤษภาคม

ผล  เป็นผลแห้งแตกได้ ฝักเล็ก รูปรี ปลายแหลม กว้างประมาณ 1 เซนติเมตร ยาวประมาณ 2 เซนติเมตร

สามสิบกีบ
สามสิบกีบ รากออกเป็นกระจุกคล้ายรากกระชาย
ดอกสามสิบกีบ
ดอกสามสิบกีบ กลีบรวมสีเหลืองอ่อนมีเส้นสีเขียวตามยาว ตรงกลางดอกสีแดง

การขยายพันธุ์ของหนอนตายหยากเล็ก

ใช้เมล็ด/เพาะเมล็ด

ธาตุอาหารหลักที่หนอนตายหยากเล็กต้องการ

ประโยชน์ของหนอนตายหยากเล็ก

ราก สระผมฆ่าเหงา

สรรพคุณทางยาของหนอนตายหยากเล็ก

คุณค่าทางโภชนาการของหนอนตายหยากเล็ก

การแปรรูปของหนอนตายหยากเล็ก

แหล่งข้อมูลที่น่าเชื่อถือ : http://www.bedo.or.th/lcdb/biodiversity/view.aspx?id=9587&SystemType=BEDO
www.flickr.com

Add a Comment