หมากหมก พูมสามง่าม ผักพูม

หมากหมก พูมสามง่าม ผักพูม

ชื่ออื่นๆ : หมากหมก พูมสามง่าม ผักพูม

ต้นกำเนิด :

ชื่อสามัญ : หมากหมก

ชื่อวิทยาศาสตร์ : Lepionurus sylvestris Bl.

ชื่อวงศ์ : OPILOACEAE

ลักษณะของหมากหมก พูมสามง่าม ผักพูม

เป็นพืชยืนต้นขนาดเล็ก ความสุง 4-5 ฟุต ลำต้นสีเขียว กิ่งก้านแผ่ออกจากลำต้นเป็นทรงพุ่ม คล้ายต้นผักหวานบ้านมีกิ่งแตกออกเป็นชั้นๆ ละ 3 กิ่งๆ ละ 3-6 ใบ ใบยาวรีปลายแหลม หน้าใบเป็นมันลื่น ขอบใบเป็นหยักเล็กน้อย ใบกรอบเกรียมออกใต้ลำกิ่งระหว่างขั้วใบ ดอกออกเป็นช่อ ดอกอ่อนสีเทา ดอกแก่สีเหลืองปลายดอกสีแดงจะเปลี่ยนจากดอกมาเป็นผล ลักษณะและขนาดของผลคล้ายลูกเขลียง ช่อหนึ่งมี 3-5 ผล ผลอ่อนสีเขียว ผลสุกสีแสด

ใบหมากหมก
ใบรูปรี ผิวใบเรียบเป็นมันทั้งสองด้าน

การขยายพันธุ์ของหมากหมก พูมสามง่าม ผักพูม

ใช้เมล็ด

ธาตุอาหารหลักที่หมากหมก พูมสามง่าม ผักพูมต้องการ

ประโยชน์ของหมากหมก พูมสามง่าม ผักพูม

ยอด ผลอ่อน แกงเลียง ส่วนผลแก่ใช้ต้มกินเล่น ใช้หัวสดกินดิบ หรือเคี่ยวกับน้ำ 3 ส่วนให้เหลือ 1 ส่วน กินบำรุงกำลัง หรือใช้หัวตากแล้วบดเป็นผงผสมกับน้ำผึ้งรวง ปั้นเป็นลูกกลอนขนาดปลายก้อยกินครั้งละ 3 เม็ด เป็นยาบำรุงกำลัง
ราก กินดิบๆ หรือต้ม เป็นยาบำรุงกำลัง กระตุ้นความกำหนัด เห็นผลทันตา
ทั้งต้น แก้โรคไต โรคนิ่ง ขับปัสสาวะ

ผลหมากหมก
ผลกลมรี ผลอ่อนสีเขียว ผลแก่สีแดง

สรรพคุณทางยาของหมากหมก พูมสามง่าม ผักพูม

ใช้หัวสดกินดิบ หรือเคี่ยวกับน้ำ 3 ส่วนให้เหลือ 1 ส่วน กินบำรุงกำลัง หรือใช้หัวตากแล้วบดเป็นผงผสมกับน้ำผึ้งรวง ปั้นเป็นลูกกลอนขนาดปลายก้อยกินครั้งละ 3 เม็ด เป็นยาบำรุงกำลัง
ราก กินดิบๆ หรือต้ม เป็นยาบำรุงกำลัง กระตุ้นความกำหนัด เห็นผลทันตา
ทั้งต้น แก้โรคไต โรคนิ่ง ขับปัสสาวะ

คุณค่าทางโภชนาการของหมากหมก พูมสามง่าม ผักพูม

การแปรรูปของหมากหมก พูมสามง่าม ผักพูม

แหล่งข้อมูลที่น่าเชื่อถือ : http://www.bedo.or.th/lcdb/biodiversity/view.aspx?id=10426&SystemType=BEDO

Add a Comment