กะเรกะร่อน
ชื่ออื่นๆ : เอื้องด้ามข้าว เอื้องหางไหล กล้วยหางไหล เอื้องปากเป็ด
ต้นกำเนิด :
ชื่อสามัญ : Orchid
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Cymbidium aloifolium (L.) Sw.
ชื่อวงศ์ : ORCHIDACEAE
ลักษณะของกะเรกะร่อน
ลักษณะทั่วไป กล้วยไม้อิงอาศัย ลำต้น เป็นหัวรูปรี มีหลายข้อ และขึ้นชิดกันเป็นกอ ใบ รูปรูปแถบ กว้าง 3 ซม. ยาว 60 ซม. หนาและแข็ง ปลายใบเว้า ดอก ออกเป็นช่อ มี 1-2 ช่อ ดอกขนาด 2.5 ซม. ช่อดอกยาวห้อยลงเป็นสาย กลีบดอกและกลีบเลี้ยงรูปแถบ กลีบดอกแคบและสั้นกว่ากลีบเลี้ยง ขอบกลีบสีเหลือง ปลายมน กลีบปากรูปรีกว้าง สีม่วงแดง เส้าเกสรสีม่วง
แหล่งที่พบ ตามป่าผลัดใบและป่าไม่ผลัดใบ ตามที่โล่งแจ้งแสงแดดจัด ในหลายระดับความสูง
การขยายพันธุ์ของกะเรกะร่อน
ใช้หัว/เหง้า/หน่อ/การขยายพันธ์เมล็ด และ เหง้า
ธาตุอาหารหลักที่กะเรกะร่อนต้องการ
ประโยชน์ของกะเรกะร่อน
เพื่อความสวยงาม และเป็นไม้ประดับ
สรรพคุณทางยาของกะเรกะร่อน
คุณค่าทางโภชนาการของกะเรกะร่อน
การแปรรูปของกะเรกะร่อน
แหล่งข้อมูลที่น่าเชื่อถือ : http://www.bedo.or.th/lcdb/biodiversity/view.aspx?id=10811&SystemType=BEDO
https://www.flickr.com