บอระเพ็ดพุงช้าง
ชื่ออื่นๆ : บอระเพ็ดพุงช้าง, หัวหำเป้า (ภาคกลาง) บอระเพ็ดพุงช้าง (ภาคอีสาน – ภาคใต้)
ต้นกำเนิด :
ชื่อสามัญ :
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Stephania suberosa Forman
ชื่อวงศ์ : MENISPERMACEAE
ลักษณะของบอระเพ็ดพุงช้าง
ต้น เป็นไม้เถาอายุหลายปี มีหัวกลม โผล่พ้นดิน โคนต้นมีเปลือกแข็ง ปลายยอดเรียบและเหี่ยวแห้งในฤดูแล้ง
ใบ ใบเดี่ยว รูปไข่แกนสามเหลี่ยม ปลายมนหรือเว้าตื้น โคนใบตัดเป็นรูปหัวใจ
ดอก ช่อดอกแยกเพศ ออกที่ซอกใบ
ผล ผลสดกลมมีขนาดเล็ก ออกดอกเดือนกรกฎาคม-สิงหาคม
การขยายพันธุ์ของบอระเพ็ดพุงช้าง
การใช้เถา
ธาตุอาหารหลักที่บอระเพ็ดพุงช้างต้องการ
ประโยชน์ของบอระเพ็ดพุงช้าง
เป็นยาสมุนไพร หัวต้มน้ำดื่มแก้ท้องร่วง ขับเสมหะ หรือหั่นเป็นแว่นแล้วตากแห้ง นำมาต้มให้เด็กดื่ม ช่วยลดไข้
สรรพคุณทางยาของบอระเพ็ดพุงช้าง
-
หัวหรือราก ใช้แก้ไข้ ลดไข้ของเด็กได้ แก้หอบหืด ขับลม
-
ดอก แก้โรคผิวหนังมีผื่นคัน
-
ดอกหรือผล ย่อยอาหาร
-
เถา น็ขับพยาธิในลำไส้ ปรุงเป็นยาขับโลหิตระดูของสตรี
-
เถาหรือลำต้นกระจายลมที่แน่นในอก ใบ ช่วยบำรุงธาตุไฟในร่างกายรักษาแผลสดและแผลเรื้อรังได้ รักษาโรคผิวหนัง ผื่นคันตามตัวได้
-
เปลือกต้นและใบ แก้ไข้มาลาเรีย
-
รากหรือใบ บำรุงประสาท บำรุงเส้นประสาท ป้องกันโรคความจำเสื่อม
-
ลำต้นหรือส่วนหนาม แก้เสมหะในคอและทรวงอก แก้บิด
ข้อควรระวัง มีสารที่มีพิษต่อไต อาจทำให้ถึงแก่ชีวิตได้ จึงควรใช้ด้วยความระมัดระวัง
คุณค่าทางโภชนาการของบอระเพ็ดพุงช้าง
การแปรรูปของบอระเพ็ดพุงช้าง
แหล่งข้อมูลที่น่าเชื่อถือ : http://www.bedo.or.th
https://hkm1.hrdi.or.th
https://th.wikipedia.org
https://www.flickr.com