ผักปังแป
ชื่ออื่นๆ : ผักปังแป
ต้นกำเนิด : แอฟริกา เอเชีย ออสเตรเลีย และนิวแคลิโดเนีย ขึ้นตามที่โล่ง ชายหาด โขดหินริมแม่น้ำ หรือสันเขา ความสูงถึงประมาณ 2000 เมตร
ชื่อสามัญ :
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Canscora diffusa (Vahl) R.Br. ex Roem. & Schult.
ชื่อวงศ์ : Gentianaceae
ลักษณะของผักปังแป
ต้น ไม้ล้มลุก สูงได้ถึง 50 ซม.
ใบ ใบรูปรีถึงรูปใบหอก ยาว 1–4 ซม. เส้นโคนใบข้างละ 1 เส้น ก้านใบยาวได้ถึง 1.5 ซม.
ดอก ช่อดอกแบบช่อกระจุกห่าง ๆ มีได้ถึง 40 ดอก ใบประดับยาว 1–4 มม. ก้านดอกยาวได้ถึง 1.5 ซม. หลอดกลีบเลี้ยงยาว 3–7 มม. ปลายแยกเป็น 4 แฉก รูปสามเหลี่ยม ยาว 1–2 มม. ดอกสีชมพู ม่วง หลอดกลีบยาว 4–7 มม. ปลายแยกเป็น 4 กลีบ กลีบใหญ่ 2 กลีบ รูปรีกว้าง ยาว 2–6 มม. กลีบเล็ก 2 กลีบ รูปรีแคบ ยาว 2–4 มม. เกสรเพศผู้ 4 อัน ก้านชูอับเรณูยาวประมาณ 1 มม. รังไข่เรียว ยาว 3–7 มม. ก้านเกสรเพศเมียยาวประมาณ 5 มม.
ผล ผลรูปขอบขนาน ยาว 3–7 มม.
การขยายพันธุ์ของผักปังแป
การเพาะเมล็ด, การปักชำ
ธาตุอาหารหลักที่ผักปังแปต้องการ
ประโยชน์ของผักปังแป
สรรพคุณทางยาของผักปังแป
น้ำสกัดจากส่วนต่าง ๆ รสขม ใช้แก้ไข้ แก้ปวดท้อง ลดการอักเสบ
คุณค่าทางโภชนาการของผักปังแป
การแปรรูปของผักปังแป
แหล่งข้อมูลที่น่าเชื่อถือ : http://www.bedo.or.th/lcdb/biodiversity/view.aspx?id=9885&SystemType=BEDO
https://www.dnp.go.th
https://www.flickr.com