หญ้าดอกขาว พืชวงศ์หญ้าและพืชฤดูเดียว ขึ้นเป็นกอ มักพบในนาหว่าน

หญ้าดอกขาว

ชื่ออื่นๆ : หญ้ายอนหู(กรุงเทพฯ), หญ้าดอกขาว(อ่างทอง), หญ้าเม็ดงา(นครราชสีมา), หญ้ายางคง(ชุมพร)

ต้นกำเนิด : พบได้ทั่วประเทศไทย

ชื่อสามัญ : หญ้ายอนหู

ชื่อวิทยาศาสตร์ : Leptochloa chinensis (L.) Nees

ชื่อวงศ์ : Poaceae

ลักษณะของหญ้าดอกขาว

เป็นพืชวงศ์หญ้าและพืชฤดูเดียว ขึ้นเป็นกอ ออกรากตามข้อ สูง 50 – 100 เซนติเมตร ใบเรียบ เป็นเส้นตรง ยาว 10 – 20 เซนติเมตร ดอกเป็นดอกช่อแบบพานิเคิล ยาว 20-60 เซนติเมตร มีช่อดอกย่อยแบบ spike จำนวนมาก ยาวประมาณ 10 เซนติเมตร แต่ละช่อมี 3-7 ดอก

หญ้าดอกขาว
หญ้าดอกขาว ขึ้นเป็นกอ ใบเรียบ

การขยายพันธุ์ของหญ้าดอกขาว

ใช้เมล็ด ชอบดินที่ระบายน้ำได้ไม่ดี พบในนาหว่าน หญ้ายอนหูเป็นพืชที่มีฤทธิ์ทางอัลลีโลพาธี สารสกัดด้วยเอทิลอะซีเตตจากลำต้น ยับยั้งการเจริญของแตงกวา แตงโม ฟักทอง ถั่วลิสงนา ผักเสี้ยนผี ผักเบี้ยใหญ่ ข้าว ไมยราบยักษ์ ผักกาดขาวและ
หญ้าข้าวนกได้.

ธาตุอาหารหลักที่หญ้าดอกขาวต้องการ

ประโยชน์ของหญ้าดอกขาว

เป็นระบบนิเวศข้าว ในนาหว่านน้ำตมและนาหว่านข้าวแห้ง

สรรพคุณทางยาของหญ้าดอกขาว

คุณค่าทางโภชนาการของหญ้าดอกขาว

การแปรรูปของหญ้าดอกขาว

แหล่งข้อมูลที่น่าเชื่อถือ : http://www.bedo.or.th/lcdb/biodiversity/view.aspx?id=11266&SystemType=BEDO
https://www.flickr.com

Add a Comment